Page 4 - บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
P. 4

4


             15.7 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน าและแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวน า

                                                                                                               ้
                    เมื่อฟลักซ์แม่เหล็กเปลี่ยนแปลงผ่ำนขดลวดตัวน ำและลวดตัวน ำที่ต่อเป็นวงจรปิดจะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟำ
             เหนี่ยวน ำ ท ำให้ขดลวดตัวน ำหรือลวดตัวน ำท ำหน้ำที่เสมือนเป็นแหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ

                                                                                              ั
                                                       ้
                    กฎของฟำรำเดย์สรุปได้ว่ำ แรงเคลื่อนไฟฟำเหนี่ยวน ำที่เกิดขึ้นในขดลวดเป็นสัดส่วนกับอตรำกำรเปลี่ยนแปลง
             ของฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่ำนขดลวดนั้นเมื่อเที่ยบกับเวลำ

                                                                                                               ้
                    กำรหำทิศทำงของกระแสไฟฟ้ำเหนี่ยวน ำในขดลวดตัวน ำ หำได้จำกกฎของเลนซ์ ซึ่งมีใจควำมว่ำแรงเคลื่อนไฟฟำ
             เหนี่ยวน ำในขดลวดจะท ำให้เกิดกระแสไฟฟำเหนี่ยวน ำในทิศทำงที่จะท ำให้เกิดฟลักซืแม่เหล็กใหม่ขึ้นมำเพอต้ำนกำร
                                                                                                       ื่
                                                  ้
             เปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กเดิมที่ตัดผ่ำนขดลวดนั้น

             15.8 แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวน าในมอเตอร์และเครื่องก าเนิดไฟฟ้า
                                                                                            ้
                    มอเตอร์ขณะหมุนจะมีฟลักซ์แม่เหล็กเปลี่ยนแปลงผ่ำนขดลวด ท ำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟำเหนี่ยวน ำมีทิศทำงตรง
             ข้ำมกับแรงเคลื่อนไฟฟ้ำเดิม เรียกว่ำ แรงเคลื่อนไฟฟ้ำกลับ ในกรณีที่มอเตอร์ติดขัดหรือหมุนช้ำกว่ำปกติ แรงเคลื่อนไฟฟำ
                                                                                                               ้
                                                                                                               ื่
             กลับจะมีค่ำน้อยท ำให้กระแสไฟฟ้ำในขดลวดมีค่ำมำก อำจท ำให้ขดลวดร้อนจนขดลวดไหม้ได้ จึงจ ำเป็นต้องตัดสวิตช์เพอ
             หยุดกำรท ำงำนของมอเตอร์ทุกครั้งที่แรงเคลื่อนไฟฟ้ำกลับมีค่ำน้อย

                                    ้
                    เครื่องก ำเนิดไฟฟำเป็นอปกรณ์เปลี่ยนพลังงำนกลเป็นพลังงำนไฟฟำที่ท ำงำนโดยใช้หลักกำรท ำให้เกิด
                                          ุ
                                                                                ้
                                                        ์
             แรงเคลื่อนไฟฟ้ำเหนี่ยวน ำในขดลวด เมื่อท ำให้ฟลักซแม่เหล็กผ่ำนขดลวดมีกำรเปลี่ยนแปลง เช่น ใช้กำรหมุนขดลวดตัดฟ
             ลักซ์แม่เหล็ก โดยที่ปลำยขดลวดต่อกับวงจรภำยนอกผ่ำนคอมมิวเตอร์และแปรงสัมผัสท ำให้ทิศทำงของกระแสไฟฟำใน
                                                                                                            ้
             วงจรมีทิศทำงเดียวกัน เรียกว่ำกระเสตรง หำกมีทิศทำงกลับไฟมำ เรียกว่ำ กระแสสลับ

             15.9 หม้อแปลง

                    หม้อแปลงเป็นอปกรณ์ส ำหรบถ่ำยโอนพลังงำนไฟฟำ(แรงเคลื่อนฟำ) ประกอบด้วยขดลวดที่ต่อเข้ำกับ
                                                                  ้
                                  ุ
                                                                                ้
                                                           ี
             แหล่งก ำเนิดไฟฟำ เรียกว่ำ ขดลวดปฐมภูมิ ส่วนลวดอกขดซึ่งต่อกับเครื่องใช้ไฟฟำ เรียกว่ำ ขดลวดทุติยภูมิ โดยที่มี
                           ้
                                                                                  ้
             ควำมสัมพันธ์ของแรงเคลื่อนไฟฟ้ำกับจ ำนวนรอบของขดลวดเป็นดังนี้ คือ
                                                            1      1

                                                            2  =     2


                                      = แรงเคลื่อนไฟฟำของขดลวดปฐมภูมิ
                                                     ้
                                    1
                                      = แรงเคลื่อนไฟฟ้ำของขดลวดทุติยภูมิ
                                    2
                                      = จ ำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ
                                    1
                                      = จ ำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ
                                    2
   1   2   3   4   5   6