Page 299 - cover-biology-boontieam new28-8 i_coateduv
P. 299
รัฐที่ดี มีระเบียบวินัย โดยให้คำนึงถึงประโยชน์ของทางราชการและประโยชน์ของ การพัฒนาทีมงานเพื่อความสำเร็จด้วยกิจกรรม Rally
ส่วนรวมเป็นหลัก อันเป็นรากฐานสำคัญนับตั้งแต่เริ่มเข้ารับราชการ เพื่อเป็น การปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มีงานหลายด้านที่
แนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นบุคลากรที่ดีของกรมศุลกากรสืบไป เกี่ยวข้องกับบุคลากรของกรมฯ ดังได้กล่าวมาแล้ว โดยงานที่สำคัญด้านหนึ่ง
คืองานด้านการพัฒนาบุคลากรที่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจะต้องดำเนินการฝึกอบรม
ในส่วนของการพัฒนาบุคลากรตามภารกิจของสถาบันวิทยาการศุลกากร พัฒนาเจ้าหน้าที่ของกรมศุลกากรตามโครงการฝึกอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ เป็น
ผมและทีมงานสถาบันวิทยาการศุลกากร หรือ สวศ. ได้ร่วมกันพิจารณา จำนวนมากเป็นประจำทุกปีอย่างต่อเนื่อง และยังมีงานด้านอื่น ๆ อีกหลายด้าน
กำหนดแนวทางพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะในการปฏิบัติ ที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน โดยการทำงานของเจ้าหน้าที่สำนักบริหาร
โดยจัดทำแผนพัฒนาศุลกากรอย่างเป็นระบบ พร้อมกับจัดหลักสูตรการฝึกอบรม ทรัพยากรบุคคล หรือ สบท. เป็นการทำงานเพื่อคนอื่นในลักษณะปิดทองหลังพระ
สัมมนาในหัวข้อวิชาเกี่ยวกับวิชาชีพศุลกากร และงานอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง เป็นส่วนใหญ่ อัตรากำลังของ สบท.ช่วงนั้น ทั้งตัวจริงและตัวช่วยมีประมาณ
การพัฒนาสมรรถนะต่าง ๆ ที่จำเป็น เน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม 150 - 180 คน แต่ต้องทำงานด้านบุคลากรให้กับคนของกรมศุลกากรประมาณ
ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเจ้าหน้าที่ เนื่องจากในเวลานั้น 7 พันกว่าคน ดังนั้น ผมจึงมีความคิดเห็นว่าบุคลากรของ สบท.ควรได้รับการพัฒนา
กำลังจะเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC โดยแบ่งกลุ่มการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมอย่างสม่ำเสมอ และเป็นไปตามหลักการ
พัฒนาบุคลากรออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับแรกเข้าหรือแรกบรรจุ ระดับผู้มี ที่ว่า จะพัฒนาคนอื่นต้องพัฒนาตนเองก่อน เพื่อจะได้ยืนหยัดทำงานเพื่อคนอื่น
ประสบการณ์ 4 - 6 ปี ระดับหัวหน้าฝ่าย/ผู้อำนวยการส่วน และระดับผู้บริหาร ตามอุดมการณ์ “สบท.เพื่อกรมศุลกากร” อย่างยั่งยืนและยาวนานต่อไปได้
และมีการเดินทางไปศึกษาดูงานด้านการฝึกอบรม ที่ CTI (Customs Training จึงได้ดำเนินโครงการพัฒนาบุคลากรของ สบท.ขึ้นมาโดยเฉพาะ โดยใช้ชื่อว่า
Institute) ของประเทศญี่ปุ่น และ SCC (Shanghai Customs College) “โครงการพัฒนาทีมงานเพื่อความสำเร็จด้วยกิจกรรม Rally” ขึ้นเป็นประจำทุกปี
ของประเทศจีน แล้วนำมาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและวิธีการฝึกอบรมให้มี ในช่วงเวลาที่ผมดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักบริหารทรัพยากรบุคคล รวม
ประสิทธิผลและเต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมีหลักสูตรที่หลากหลาย 4 ครั้ง คือ
ครอบคลุมในภารกิจของกรมศุลกากรและงานอื่นที่เกี่ยวข้อง และมีการขอใช้
เงินทุนสนับสนุนภารกิจของกรมศุลกากรในการฝึกอบรมให้กับพนักงานราชการ ครั้งที่ 1
และลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับการบรรจุใหม่ เพื่อให้ความรู้พื้นฐานพร้อมปฏิบัติงาน ได้จัดโครงการพัฒนาทีมงานเพื่อความสำเร็จด้วยกิจกรรม Walk Rally
เช่นเดียวกับข้าราชการที่เข้าใหม่ด้วย แต่การฝึกอบรมพนักงานราชการและ ร่วมกับสำนักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบัง (สทบ.) ซึ่งในขณะนั้นมี ที่ปรึกษา
ลูกจ้างชั่วคราวมิได้มีกฎเกณฑ์ภาคบังคับว่าต้องมีการฝึกอบรมเหมือนข้าราชการ ไพศาล ชื่นจิตร เป็นผู้อำนวยการสำนัก สทบ. ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมดังกล่าว
บรรจุใหม่ จึงขึ้นอยู่กับนโยบายของกรมศุลกากรว่าจะจัดฝึกอบรมให้ก่อนที่จะ ขึ้นที่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 1 - 3 มีนาคม 2555 ซึ่งบุคลากร
ให้ไปทำงานตามตำแหน่งหน้าที่ก่อนหรือไม่ แต่ในช่วงที่ผมทำงานอยู่ที่ สบท. ทั้งสองสำนักต่างได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ เปิดมุมมอง
ได้เสนอขอใช้เงินสนับสนุนภารกิจของกรมศุลกากรมาเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ผ่านกิจกรรมเข้าฐาน Walk Rally ต่าง ๆ ได้รับทั้งความสนุกสนานและความรู้
ให้แก่พนักงานราชการและลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับการบรรจุใหม่ เพื่อให้มีความรู้ ในการปฏิบัติงานอย่างมีความสุข เป็นที่ประทับใจของบุคลากรที่ไปร่วมกิจกรรม
พื้นฐานเกี่ยวกับงานศุลกากรเช่นเดียวกับข้าราชการบรรจุใหม่ แต่ระยะเวลาการ ดังกล่าวเป็นอย่างมาก
อบรมน้อยกว่า แต่ปัจจุบันอาจมีข้อจำกัดด้านงบประมาณและจำนวนพนักงาน
ราชการ หรือลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับการบรรจุแต่ละครั้งอาจมีจำนวนไม่มาก จึง ครั้งที่ 2
ไม่มีการฝึกอบรมก่อนให้ไปปฏิบัติงานเหมือนช่วงที่ผมดำรงตำแหน่ง ผอ. สบท. ได้จัดโครงการพัฒนาทีมงานของ สบท. และเสริมสร้างคุณภาพชีวิต
การทำงานด้วยกิจกรรม Car Rally, Adventures, Cowboy night และ
296 297