Page 80 - ภาษาไทย ม.ปลาย31001
P. 80
80 | ห น า
เรื่องที่ 8 วรรณกรรมทองถิ่น
วรรณกรรมทองถิ่น หมายถึง เรื่องราวของชาวบานที่เลาสืบตอกันมาหลายชั่วอายุคนทั้งการพูด
และการเขียนในรูปของ คติ ความเชื่อ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอยคําที่มีหลากหลาย
รูปแบบ เชน นิทานพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ปริศนา คําทาย ภาษิต คําคม บทเทศน และคํากลาวในพิธี
กรรมตางๆ
ลักษณะของวรรณกรรมทองถิ่น
1. วรรณกรรมทองถิ่น โดยทั่วไปมีวัดเปนศูนยกลางเผยแพร กวีผูประพันธสวนมาก คือ
พระภิกษุ และชาวบาน
2. ภาษาที่ใชเปนภาษาถิ่น ใชถอยคําสํานวนทองถิ่นที่เรียบงาย ชาวบานทั่วไปรูเรื่องและใช
ฉันทลักษณที่นิยมในทองถิ่นนั้น เปนสําคัญ
3. เนื้อเรื่องสวนใหญเปนเรื่องจักรๆ วงศๆ มุงใหความบันเทิง และสอดแทรกคติธรรมทางพุทธ
ศาสนา
4. ยึดคานิยมแนวปรัชญาพุทธศาสนา เชน กฎแหงกรรม หรือธรรมะยอมชนะอธรรม เปนตน
ประเภทของวรรณกรรมทองถิ่น
วรรณกรรมทองถิ่น แบงไดเปน 2 ประเภท คือ
1. ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่ไมไดเขียนเปนลายลักษณ เปนวรรณกรรมปากเปลาจะถา
ยทอดโดยการบอก หรือการเลาหรือการรอง ไดแก บทกลอมเด็ก นิทานพื้นบาน
เพลงพื้นบาน ปริศนาคําทาย ภาษิต สํานวนโวหาร คํากลาวในพิธีกรรมตางๆ
2. ประเภทเขียนเปนลายลักษณ ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตรในทองถิ่น
และตําราความรูตางๆ
คุณคาของวรรณกรรมทองถิ่น
1. คุณคาตอการอธิบายความเปนมาของชุมชนและเผาพันธุ
2. สะทอนใหเห็นโลกทัศนและคานิยมตางๆ ของแตละทองถิ่น โดยผานทางวรรณกรรม
3. เปนเครื่องมืออบรมสั่งสอนจริยธรรมของคนในสังคมสามารถนําไปประยุกตใชในสังคมปจจุบัน
ได
4. เปนแหลงบันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และการดําเนินชีวิต
ของคนในทองถิ่น