Page 72 - SAR TNW 2563
P. 72
Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ปีการศึกษา 2563
2.1.4 แนวทางการพัฒนาเพื่อยกระดับเป้าหมาย
1) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการอ่าน การเขียน
การสื่อสาร และการคิดค านวณ และการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
แก้ปัญหา ทุกระดับชั้นในระดับที่สูงขึ้น
2) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทุกรายวิชาทุกระดับชั้น
3) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนในการทดสอบพื้นฐานระดับชาติ
ื่
ั
4) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนด้านการใช้ภาษาองกฤษเพอการสื่อสาร
และภาษาที่ 3 (จีน-ญี่ปุ่น-เวียดนาม-เกาหลี)
5) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนในการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS)
6) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนด้านสมรรถภาพทางร่างกาย
7) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักเรียนนักเรียนให้มีน้ าหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์
มาตรฐานของกรมอนามัย
2.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม (ตามเป้าหมาย)
2.2.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยาเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล รุ่นที่ 2 มีกระบวนการ
์
บริหารและการจัดการ โดยยึดหลักการบริหารจัดการตามกรอบงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล 7 องคประกอบ
่
ได้แก การน าองค์กร กลยุทธ์ นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้ บุคลากร
การปฏิบัติการ และผลลัพธ์โดยใช้ TNW TEAM ขับเคลื่อนองค์กร มุ่งไปสู่ความส าเร็จตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ
และเป้าประสงค์ของโรงเรียน โดยพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังใช้กระบวนการพัฒนางาน/โครงการ/กิจกรรม
สู่เป้าหมายความส าเร็จ ด้วยการบริหารจัดการ 3 ระบบ คือ 1) ระบบคุณภาพ (Quality Management System)
งาน/กิจกรรม/โครงการที่ด าเนินการใช้ระบบการบริหารด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 2) ระบบคุณธรรม (Morality
System) ผู้บริหารใช้กระบวนการพัฒนาด้วยระบบคุณธรรม (TNW Moralal Program) ในการพัฒนาคุณภาพของ
ุ
นักเรียน โดยอาศัยความร่วมมือทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนในการส่งเสริมคณธรรมของนักเรียนและบุคลากร
ภายในโรงเรียน 3) ระบบคุณภาพผู้เรียน (Students Quality System) ผู้เรียนที่มีคุณภาพ
ต้องเริ่มจากครูจะต้องเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนไปอย่างสิ้นเชิง ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องยึดหลักสอนน้อย
้
เรียนมาก การเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ต้องกาวข้ามสาระวิชา นักเรียนทุกคนต้องได้รับความรู้ไปสู่การเรียนรู้“
ทักษะเพอการด ารงชีวิตในศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) และเป็นนักเรียนที่เรียนรู้ตลอดชีวิต)
ื่
2.2.2 ผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 ตามประเด็นพิจารณา
คณะกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษา รวบรวมข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนด้านต่างๆ
แล้วน ามาเทียบตามเกณฑ์ของสถานศึกษาและค่าเป้าหมายที่ก าหนดไว้ พบว่า ผลการประเมินโดยภาพรวม
เฉลี่ย ร้อยละ80 ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ร้อยละ 80 โดยทั้ง 6 ประเด็นพิจารณาเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ทุกขอ
้
ดังตาราง 40
59