Page 49 - demo1
P. 49
ทีนี้พอบวชเข้ามาในพระพุทธศาสนา ฟังเสียงเพลงมันก็ติดใจ แต่ฟัง
ื
ี
มาฟังไป มาเทียบเคียงกับชีวิต ว่าไอ้เพลงท่เขาเคาะมาเบ้องต้น แล้วก็เคาะกัน
นิตยสารธัมมวิโมกข์
ี
ต่อไป มันก็เหมือนกับการเกิดของเรา ชีวิตเดินไต่เต้ามาตามล�าดับ ในท่สุด
เพลงเขาบรรเลงจบ ชีวิตเราก็จบเหมือนกับเสียงเพลงนี การฟังเพลงไทยจึง
้
ิ
เป็นปัจจัยให้เกิดฌานสมาบัต น่เคยหากินกับเสียงเพลงมาแล้ว โดยเฉพาะ
ี
อย่างย่ง เพลงประโคมศพนี่ชอบฟังมาก เด๋ยวนี้ก็ยังชอบฟัง เม่อฟังเสียง
ิ
ี
ื
้
เพลงประโคมศพทีไร ก็คิดว่าเราตายไปแล้วเวลานี ปี่พากย์วงใหญ่ เคร่อง
ื
ึ
้
มอญก�าลังประโคมศพเรา ใจมันก็รู้สกสบาย คดว่าเวลานีเราตายจากโลกนี ้
ิ
ไปแล้ว ปี่พากย์จงประโคมศพเรา นกถึงภาพเวลาตาย แล้วก็นึกถึงเสียงเพลง
ึ
ึ
ี
ท่บรรเลง มันโหยหวนยวนใจ แสดงสัญลักษณ์ของความตาย
่
แล้วก็มานังนึกดูว่า ถ้าเราเกิดมาฟังเสียงเพลงแบบนี้ต่อไป มันจะเกิด
ประโยชน์อะไรบ้าง มันหาประโยชน์อะไรไม่ได้ มันมีแต่ความทุกข์อย่างเดียว
ื
ไม่มีอะไรเป็นปัจจัยแห่งความสุข ในเม่อมันไม่สุข มันเต็มไปด้วยความทุกข์
เราก็หาทางเลิกเกิดมันเสีย เพลงที่เบาบรรเลงแล้ว เขาเลิกบรรเลงไปฉันใด
้
แล้วผู้บรรเลงไม่กลับมาบรรเลงใหม่ คือตายไปจากโลกนี หรือว่าเครื่อง
ดนตรีส�าหรับบรรเลงมันพังไป เราก็ตั้งใจให้มีสภาพแบบนั้น เกิดมาแล้วมัน
ี
เป็นทกข์ เสยงเพลงหายไป เสยงเพลงก็มีความสุข เคร่องดนตรีที่สลายตัว
ี
ุ
ื
ื
ไปแล้ว เคร่องดนตรีนั้นมันก็มีความสุข เพราะไม่ถูกใครเขาเขกเขาสับเสีย
ี
คนท่บรรเลงเพลงดนตรีต่างๆ เสียงเพลงต่างๆ เขาตายไปแล้ว ก็ไม่มีใครใช้
ื
ให้บรรเลงอีก หมดจากความเหน่อย การบรรเลงเพลงให้คนฟัง ย่อมเป็นท่ ี
45