Page 39 - Moj planning Vol.2 2022
P. 39
8. หลักการและเหตุผล (1. ที่มา/ปัญหา, 2. เชื่อมโยงแนวทางแผนงานบูรณาการและภารกิจ
ศอ.บต. อย่างไร)
สืบเนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บ
ี
ื
พิการ เสียชีวิต และทรัพย์สินเสียหายเป็นจำานวนมาก รัฐบาลได้มีมติคณะรัฐมนตรีเม่อวันท่ 31 พฤษภาคม
ื
ื
ี
2548 ให้ช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบสืบเน่องจากสถานการณ์ความไม่สงบในพ้นท่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ิ
และพระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2553 มาตรา 9(7) ได้บัญญัตให้ศูนย์อำานวยการ
บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) มีภารกิจหน้าท่ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับ
ี
ี
่
ี
ความเสียหายและผู้ทได้รับผลกระทบจากการกระทำาของเจ้าหน้าท่ของรัฐอันสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ความไม่สงบ
ั
ั
ั
ั
ุ
ั
ในจงหวดชายแดนภาคใต้ โดยการออกระเบียบคณะกรรมการยทธศาสตร์ด้านการพฒนาจงหวดชายแดนภาคใต้
ื
ี
(กพต.) ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการกระทำาของเจ้าหน้าท่รัฐอันเน่องจากเหตุการณ์
ี
ความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2555 และได้มีมติคณะรัฐมนตรีเม่อวันท่ 1 พฤศจิกายน 2554
ื
ึ
ถ่ายโอนภารกิจการช่วยเหลือเยียวยาให้กับ ศอ.บต. ซ่งเป็นหน่วยงานพัฒนาในพ้นท่ ดำาเนินการให้บรรลุเจตนารมณ์
ื
ี
ำ
้
่
้
การใหความชวยเหลือเยียวยา คือ ผู้ไดรับผลกระทบสามารถดารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติ ครอบครัวเขมแข็ง
่
้
่
้
ั
ื
และเกิดกระบวนการเยียวยาชุมชน โดยชุมชนเอง ท้งยังเป็นการลดเง่อนไขความไม่เข้าใจ ความหวาดระแวง
และให้ความเป็นธรรมกับประชาชนในพื้นที่
ปัญหาที่พบในการด�าเนินงานช่วยเหลือเยียวยา
1) ปัญหาต่อตัวผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง
ั
- ปัญหาสุขภาพจิตของผู้ได้รับผลกระทบท้งทางตรงและทางอ้อม ปัญหาสุขภาพจิตท่พบเป็นแบบ
ี
เฉียบพลัน กับแบบเร้อรัง แบบเร้อรังพบในรายท่มีปมฝังใจ และแสดงออกมาให้เห็นชัดเจนข้นเร่อย ๆ
ึ
ื
ื
ื
ี
เช่น กรณีของคนที่อยู่ในเหตุการณ์ บางคนช็อคแบบเฉียบพลัน บางคนค่อย ๆ มีอาการหวาดผวา หวาดระแวง
ั
แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว หรือหลบหนีสังคมไปเลย ซ่งพบท้งในเด็กและผู้ใหญ่ ปัญหาสุขภาพจิตดังกล่าว
ึ
หน่วยงานรัฐช่วยเหลือเยียวยาได้เพียงระดับหนึ่ง คนเฝ้าระวังที่สำาคัญคือคนใกล้ชิดหรือบุคคลในครอบครัว
ึ
- ปัญหาการรักษาพยาบาล เนื่องจากผู้ได้รับผลกระทบส่วนหน่งมีความพิการ ทุพพลภาพ หรือบาดเจ็บ
ี
ื
ท่ต้องมีการรักษาต่อเน่อง ฟื้นฟู หรือต้องใช้กายอุปกรณ์ แต่ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ฟื้นฟู หรือกายอุปกรณ์
่
มีค่าใช้จ่ายส่วนเกินทไม่อยู่ในระเบียบท่กระทรวงสาธารณสุขสามารถเบิกให้ได้ (เกินกว่ามาตรฐานท่กระทรวง
ี
ี
ี
การคลังกำาหนด) และผู้ได้รับผลกระทบต้องจ่ายค่าส่วนเกินนี้เองทำาให้ได้รับความเดือนร้อน จนกลายเป็นเงื่อนไข
ความรู้สึกที่ไม่ดีต่อรัฐ ความรู้สึกไม่ยุติธรรม ไม่เป็นธรรมที่รัฐปฏิบัติต่อตน
ื
่
ี
- ปัญหาการเยียวยาทไม่ต่อเน่องและครอบคลุมความเป็นอยู่หลังจากการสูญเสียเสาหลักของครอบครัว
บริบทของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำาสวน ทำาเกษตร รับจ้าง เมื่อเกิดการ
ื
สูญเสีย จึงเป็นปัญหาในการดำารงชีพสำาหรับคนท่เหลืออยู่ ประเด็นน้ยังคงเป็นปัญหาต่อเน่อง และเป็นเง่อนไข
ี
ี
ื
แห่งความไม่เข้าใจระหว่างประชาชนกับรัฐ แม้ว่าจะมีหน่วยงานที่มีภารกิจดูแลต่อเนื่อง เช่น กระทรวงการพัฒนา
สังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ซึ่งหลักเกณฑ์ของกระทรวงดังกล่าวช่วยเหลือด้วยการจ่ายเงินสงเคราะห์
ี
ั
รายละไม่เกิน 2,000 บาทเท่าน้น จากข้อมูลการประเมินโดยการเย่ยมบ้านของศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด/อำาเภอ
พบว่าผู้ได้รับผลกระทบด้านร่างกายที่มีอยู่จำานวน 18,726 ราย เป็นผู้ที่มีความมั่นคงในชีวิต สามารถแบ่งปันสิ่งดี ๆ
37