Page 40 - Moj planning Vol.2 2022
P. 40
ื
ั
่
ั
ู
ี
่
ี
ู้
ให้ผอนได้มีอย่เพียงร้อยละ 3.50 (655 ราย) เป็นผทรัฐต้องให้การสนบสนุนต่อเพอให้มความมนคง อกร้อยละ 83.70
่
ื
่
ี
ู้
(15,674 ราย) และ เป็นผู้ได้รับผลกระทบในลักษณะที่รัฐต้องสงเคราะห์อีกร้อยละ 12.80 (2,397 ราย)
ี
- ปัญหาการเยียวยาท่ยังไม่ครอบคลุมผู้ได้รับผลกระทบทางอ้อม เช่น ครอบครัวของผู้ได้รับผลกระทบ
ที่เป็นผู้ต้องสงสัย ผู้ได้รับผลกระทบที่ไม่สามารถดำารงชีวิตได้ตามปกติ เนื่องจากอยู่ในพื้นที่ที่เป็นไข่แดง เป็นต้น
2) ปัญหาเกี่ยวกับตัวบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน
เน่องจากงานเยียวยาเป็นงานฝาก ไม่ได้เป็นภารกิจหลักของแต่ละหน่วยงาน แม้จะมีเจ้าหน้าท่ปฏิบัติงาน
ี
ื
่
่
ี
่
่
ื
ึ
ุ
ั
้
ี
้
่
ึ
ั
เยยวยา แตบคลากรไมไดรบการฝกฝนแบบมออาชพ ซงขดกบเปาหมายของการเยยวยาทมงแกปญหาความไมเขาใจ
้
ั
ั
่
ุ
้
ี
ี
ื
ี
้
ู
่
ี
ึ
่
ู
และความขดแย้งทจะนาไปส่ความรุนแรงในพนท ซงการเยยวยาต้องใช้บุคลากรทมองค์ความร้เฉพาะทาง
่
ี
ั
ี
่
ี
ำ
และให้บริการแบบสหวิชาชีพ
3) ปัญหาระบบข้อมูลเยียวยา
ี
ี
ไม่มีการรวมศูนย์ข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบท่เป็นเอกภาพ แต่ละหน่วยงานต่างมีข้อมูลท่เป็นข้อมูล
ื
เฉพาะส่วน ขาดการเช่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน จึงขาดการบูรณาการข้อมูลเพ่อใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือ
ื
อย่างมีประสิทธิภาพเป็นองค์รวม มีความต่อเนื่อง และครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
4) ปัญหาหลักเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมาย ที่ขาดความทันสมัยและไม่สอดคล้องกับปัญหาและสถานการณ์
ปัจจุบัน
ระเบียบทไม่ครอบคลุมสิทธิและกลุ่มเป้าหมาย เช่น การเยียวยาทรัพย์สินในกรณีสูญหายจากเหตุการณ์
ี
่
ค่ารักษาพยาบาลส่วนเกินสิทธิ์ ผู้ได้รับผลกระทบทางอ้อมที่มีความอ่อนไหวด้านความมั่นคง เป็นต้น
สิ่งที่ต้องด�าเนินการช่วยเหลือเยียวยา
ี
ื
่
1) การปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ มติ และหลักเกณฑ์ทไม่เอ้อต่อการช่วยเหลือเยียวยาท่ตรงกับปัญหา
ี
และบริบทของพื้นที่ เช่น ค่ารักษาพยาบาลที่ต่อเนื่อง หรือมีส่วนเกินสิทธิ เป็นต้น
2) การช่วยเหลือด้านคุณภาพชีวิต โดยการพิจารณาช่วยเหลือเป็นรายกรณี จากข้อมูลการทำา Individual
Plan และ Family Plan ตามลำาดับ
ิ
ื
3) การเพ่มประสิทธิภาพและพัฒนาให้บุคลากรด้านการช่วยเหลือเยียวยาเป็นบุคลากรมืออาชีพ เน่องจาก
ี
ื
ผู้ได้รับผลกระทบกลุ่มดังกล่าวเป็นกลุ่มท่ถูกเช่อมโยงกับกับการสร้างเง่อนไขความไม่เข้าใจในรัฐได้ง่ายกว่ากลุ่มอ่น ๆ
ื
ื
ี
ี
บุคลากรท่เข้าไปทำาหน้าทในการช่วยเหลือเยียวยา หากขาดทักษะอย่างมืออาชีพ เช่น ทักษะการสังเกต การส่อสาร
ื
่
การสร้างสัมพันธภาพ การรวบรวมข้อมูล และทักษะอื่นๆ ที่จำาเป็น เป็นต้น
1. สร้างการมีส่วนร่วมในการดำาเนินการช่วยเหลือในทุกข้นตอนการเยียวยา เช่น การช่วยเหลือเยียวยา
ั
โดยทีมสหวิชาชีพ การเยียวยาโดยครอบครัวและชุมชน เป็นต้น
ี
ื
ึ
2. การช่วยเหลือเยียวยาด้านจิตใจ ซ่งกรณีจิตใจเป็นเร่องท่ละเอียดอ่อน รอยแผลด้านจิตใจมีหลายระดับ
การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย การคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย การรักษาเยียวยาและการเยียวยาจิตใจต่อเนื่อง
ี
ิ
เป็นเร่องสำาคัญย่ง เช่น กรณีกลุ่มท่เกิดจากการบังคับใช้กฎหมายพิเศษจากเจ้าหน้าท่รัฐ
ื
ี
แม้ทางกฎหมายบอกว่าเป็นผู้บริสุทธ์แต่ก็ถูกตีตราจากสังคมไปแล้ว หรือกรณีท่หนีไปอยู่ต่างประเทศ
ี
ิ
ี
ครอบครัวท่อยในพ้นท่ถูกสังคมตีตราว่าเป็นครอบครัวของผู้ก่อความไม่สงบ โดยเฉพาะเด็กท่จะต้อง
ื
ี
ู่
ี
เติบโตและใช้ชีวิตในสังคมต่อไป เป็นต้น
38