Page 75 - DOP annual report 2022
P. 75

ผลการด�าเนินงานการสั่งใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM)
                                       ในการปล่อยชั่วคราวผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์



                     จากเป้าหมายการส่งใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) ในการปล่อยช่วคราวผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์
                                                                                      ั
                                     ั
               ประจ�าปีงบประมาณ 2564 จ�านวน 24,216 ราย พบว่า มีการสั่งใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM)
               ในการปล่อยชั่วคราวผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์แล้ว รวมทั้งสิ้นจ�านวน 30,631 ราย คิดเป็นร้อยละ 126.49 ซึ่งสูงกว่า

               เป้าหมายที่ก�าหนดจ�านวน 6,415 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2564)
                                                                �
                                                            ่
                                                            ื
                                      ั
                                                                                                ื
                                                                     ั
                                                                ้
                     การสนองนโยบายรฐบาลในการลดความเหลอมลาในสงคม และลดความแออัดในเรอนจ�า โดยการน�า
               อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) มาใช้ในการปล่อยช่วคราว ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ และการลดข้นตอน
                                                                   ั
                                                                                                          ั
               และระยะเวลาการตรวจพิสูจน์ เพ่อเสริมสร้างความมั่นคงในการด�ารงชีวิตของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ให้สามารถ
                                            ื
                                                                                                   ิ
                                                                              �
                  ู
               อย่ร่วมกับครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างปกติสุข ภายใต้การกากับดูแลให้การด�ารงชีวตของผู้เข้ารับ
               การตรวจพิสูจน์ห่างไกลจากยาเสพติด ลดการกระทาความผิดซา และสังคมมีความปลอดภัย อันเป็นเป้าประสงค์หลัก
                                                                   �
                                                                   ้
                                                          �
                                                                                                           ึ
               ในการบ�าบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด อีกทั้งเป็นการลดโอกาสของการรวมตัวกัน อันจะนามาซ่งการ
                                                                                                      �
                                                        ื
                                          ี
                                                                                             ื
               ลดโอกาสของการเป็นกลุ่มเส่ยงต่อการติดเช้อในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้อไวรัสโคโรนา 2019
               (COVID-19) อีกทางหนึ่งด้วย
                  5. กรมคุมประพฤติกับการเฝ้าระวังการกระท�ผิดซ�้าในำชุมชนำ
                ผ่านำกลไกการท�งานำของ “ศูนำย์เฉพาะกิจเฝ้าระวังความปลอดภัย
                                      ของประชาชนำ” หรือ ศูนำย์ JSOC




                     สืบเนื่องจากกรณีข่าวอาชญากรรม

               สะเทือนขวัญที่ปรากฏตามหน้าหนังสือพิมพ์
                                                 �
               รายวัน จนท�าให้สังคมเกิดข้อสงสัยและนาไปส  ู่
                                        ื
               การตั้งค�าถามในความเช่อมั่นของภาค
               ประชาชนต่อกระบวนการยุติธรรม รัฐมนตรี
               ว่าการกระทรวงยุติธรรม โดยนายสมศักดิ    ์

               เทพสุทิน จึงได้มีนโยบายให้กระทรวงยุติธรรม
                                    ่
                            ิ
                 ิ
                                              ั
               พจารณาด�าเนนการเพอการป้องกนปัญหา
                                    ื
               อันเกิดจากผู้พ้นโทษที่เป็นภยันตรายต่อสังคม
               โดยกระทรวงยุติธรรมได้กาหนดให้มีการจัดตั้ง
                                     �
               “ศูนย์เฉพาะกิจเฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชน” (Justice Safety Observation Ad hoc Center :
               JSOC) ขึ้น เพื่อด�าเนินการเฝ้าระวังผู้พ้นโทษที่ต้องเฝ้าระวัง จ�านวน 8 กลุ่ม ได้แก่ 1) ฆ่าหรือข่มขืนเด็ก 2) ฆ่าข่มขืน
               3) ฆาตกรต่อเนื่อง 4) ฆาตกรโรคจิต 5) สังหารหมู่ 6) ชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์โดยการฆ่า 7) เรียกค่าไถ่ และ
               8) นักค้ายาเสพติดรายส�าคัญ










                                                                                                    �
                                                                                    73     รายงานประจาปี 2564
                                                                                           Annual Report 2021
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80