Page 37 - Annual 22 Basin of thailand
P. 37
บทที่
2
ข้อมูลพื้นฐาน
ลุ่มนํ้า
2.1 สภาพทั่วไป
2.1.1 สภาพภูมิประเทศ
ประเทศไทยมีเนื้อที่ประมาณ 5 แสนตารางกิโลเมตร อยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิบดาเหนือ
ถึง 20 องศา 27 ลิบดาเหนือ และลองจิจูดที่ 97 องศา 21 ลิบดาตะวันออก ถึง 105 องศา 37 ลิบดา
ั
ั
ู
่
้
�
ิ
ื
ตะวนออก ลกษณะภมประเทศของไทยเป็นผลมาจากการเคล่อนตัวของเปลือกโลกและการกระทาของแมน�า
ล�าธาร ท�าให้มีลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างกัน มีทั้งเขตภูเขาและหุบเขาทางภาคเหนือ เขตราบลุ่มแม่น�้า
ในภาคกลาง เขตเทือกเขาทางภาคตะวันตก เขตท่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากลักษณะภูมิประเทศ
ี
ุ่
ั
�
ี
ั
ท่แตกต่างกัน ทาให้ประเทศไทยมีลักษณะภูมิอากาศท้งแบบทงหญ้าเมืองร้อน คือ มีฝนตกปานกลาง ฤดูฝนส้น
ฤดูร้อนยาว พืชพรรณธรรมชาติจะเป็นทุ่งหญ้าสลับด้วยป่าไม้ เช่น ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน คือ มีฝนตกชุกเกือบตลอดปี เช่น ในภาคใต้
ั
นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรป่าไม้ท้งป่าไม้ผลัดใบและป่าไม้ไม่ผลัดใบ โดยประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี ้
ทิศเหนือ อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ติดกับ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศใต้ อ�าเภอเบตง จังหวัดยะลา ติดกับ ประเทศมาเลเชีย และสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
ทิศตะวันออก อ�าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ติดกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศตะวันตก อ�าเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ติดกับ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
ประเทศไทยมีลุ่มน�้าหลักทั้งสิ้น 22 ลุ่มน�้า ซึ่งสามารถแบ่งเป็นลุ่มน�้าสาขาจ�านวน 353 ลุ่มน�้า และ
�
้
หมู่เกาะต่าง ๆ ของแต่ละลุ่มน�าหลักอีกจานวน 6 หมู่เกาะ สภาพภูมิประเทศของประเทศไทยแสดงได้
ดังรูปที่ 2.1.1-1
้
้
ขอมูลพื้นฐาน 22 ลมน�า
ุ่