Page 39 - Annual 22 Basin of thailand
P. 39

2.1.2  เขตการปกครอง

                                  ี
                                     ู่
                                           ุ่
                                                                     ี
                                                         ้
                                                   ่
                                             ้
                                                                                      ี
               รายละเอียดของจังหวัดท่อยในเขตลมน�าหลักตาง ๆ ไดแสดงไว้ในรูปท่ 2.1.2-1 และ ตารางท่ 2.1.2-1
           รายชื่อของจังหวัดและร้อยละของพื้นที่จังหวัดที่อยู่ในลุ่มน�้าหลักต่าง ๆ
                     ตารางที่ 2.1.2-1 รายชื่อของจังหวัดที่อยู่ในลุ่มน�้าและสภาพภูมิประเทศ
                         จ�ำนวน    จังหวัด
              ลุ่มน�้ำหลัก                                     สภำพภูมิประเทศ
                         จังหวัด  ในพื้นที่ลุ่มน�้ำ

            01  สาละวิน    4   เชียงใหม่     มีพื้นที่ลุ่มน�้า 19,105.59 ตร.กม. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาสูงชัน คดเคี้ยว
                                              ึ
                                                     ื
                                                                      ึ
                                                                                   ้
                                                                                  �
                                                                           �
                                                                                   �
                               ตาก           ซ่งมีแนวต่อเน่องมาจากเทือกเขาหิมาลัย ซ่งเป็นต้นกาเนิดของลานาสาขาต่างๆ
                               แม่ฮ่องสอน    ที่มีลักษณะแคบและยาว ตามซอกเขามีความต่างระดับมากจาก
                               ก�าแพงเพชร    บริเวณปากแม่น�้าซึ่งมีความสูงประมาณ 200 ม.รทก. จนถึงดอยแม่ยามี
                                             ความสูง 2,005 ม.รทก. ลักษณะภูมิประเทศที่ซับซ้อนนี้ก่อให้เกิดลุ่มน�้าย่อย
                                                                                     ้
                                                                                     �
                                              ี
                                                          ั
                                                                   �
                                                                   ้
                                             ท่มีความแตกต่างกันท้งลักษณะลุ่มนา และทิศทางการไหลของแม่นาสายหลัก
                                             เช่น แม่น�้าปายไหลในแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก แม่น�้ายวมไหลตาม
                                             แนวทิศเหนือ-ใต้ และตะวันออก-ตะวันตก ก่อนบรรจบกับน�้าเมยซึ่งไหลใน
                                             แนวทิศตะวันออกเฉียงใต้ไปทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แล้วจึงไหลมาบรรจบ
                                             กับแม่น�้าสาละวินซึ่งไหลมาจากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้
            02  โขงเหนือ   3   เชียงใหม่     แม่น�้าโขงเป็นแม่น�้านานาชาติ มีต้นก�าเนิดจากเทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการ
                               เชียงราย      ละลายของหิมะและน�้าแข็งบริเวณที่ราบสูงทิเบต ไหลผ่านตอนใต้ของจีน
                               พะเยา         ผ่านทางตะวันออกของเมียนมาร์ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                             ของประเทศไทย จากนั้นจะไหลผ่านประเทศลาวและกัมพูชา ก่อนที่จะไหล
                                             ลงสู่ทะเลจีนใต้ในภาคใต้ของเวียดนาม ช่วงที่ไหลผ่านภาคเหนือของ
                                             ประเทศไทย มีพื้นที่ลุ่มน�้า 17,435.28 ตร.กม. สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป
                                             ของลุ่มน�้าโขงเหนือล้อมรอบไปด้วยเทือกเขา มีระดับความสูงระหว่าง
                                             300-1,550 ม.รทก. เทือกเขาที่ส�าคัญ ได้แก่ เทือกเขาดอยภูลังกา
                                             ดอยสันปันน�้า ดอยแม่สุก ดอยขุนแม่ต�่า และดอยขุนแม่ต๋อม
            03  โขง       15   นครพนม บึงกาฬ   แม่น�้าโขงเป็นแม่น�้านานาชาติ มีต้นก�าเนิดจากเทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการ
                               สกลนคร หนองคาย  ละลายของหิมะและน�้าแข็งบริเวณที่ราบสูงทิเบต ไหลผ่านตอนใต้ของจีน
                ตะวันออก                     ผ่านทางตะวันออกของเมียนมาร์ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                               กาฬสินธุ์
                เฉียงเหนือ     เพชรบูรณ์     ของประเทศไทย จากนั้นจะไหลผ่านประเทศลาวและกัมพูชา ก่อนที่จะไหล
                               พิษณุโลก      ลงสู่ทะเลจีนใต้ในภาคใต้ของเวียดนาม ช่วงที่ไหลผ่านภาคตะวันออกเฉียง
                                             เหนือของไทย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี อ�านาจเจริญ
                               มุกดาหาร ยโสธร   บึงกาฬ หนองบัวล�าภู อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม และ
                               ร้อยเอ็ด เลย   มุกดาหาร มีพื้นที่ลุ่มน�้า 47,161.97 ตร.กม. สภาพภูมิประเทศของลุ่มน�้าโขง
                               หนองบัวล�าภู   ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบสูง มีระดับอยู่ระหว่าง
                               อ�านาจเจริญ   100-200 ม.รทก. มีเทือกเขาทางด้านทิศใต้และทิศตะวันตกของลุ่มน�้า
                               อุดรธานี      เทือกเขาที่ส�าคัญ คือ เทือกเขาเพชรบูรณ์ เทือกเขาดงพญาเย็น เทือกเขา
                               อุบลราชธานี   ภูพานและเทือกเขาพนมดงรัก ท�าให้พื้นที่ของลุ่มน�้าด้านทิศตะวันตกและ
                                             ทิศใต้มีแนวเขาเป็นตัวแบ่งเขต สภาพภูมิประเทศมีลาดเทจากด้านทิศใต้
                                             ไปทางทิศเหนือ


                                            ้
                                           ขอมูลพื้นฐาน 22 ลมน�า
                                                         ุ่
                                                           ้
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44