Page 43 - Annual 22 Basin of thailand
P. 43

จ�ำนวน    จังหวัด
              ลุ่มน�้ำหลัก                                     สภำพภูมิประเทศ
                         จังหวัด  ในพื้นที่ลุ่มน�้ำ
            13  ท่าจีน    13   กรุงเทพมหานคร    ตั้งอยู่ทางตอนกลางประเทศไทยและอยู่ทางฝั่งขวาของแม่น�้าเจ้าพระยา
                               กาญจนบุรี     มีพื้นที่ลุ่มน�้า 13,446.49 ตร.กม. พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตจังหวัดอุทัยธานี
                               ชัยนาท นครปฐม    ชัยนาท สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร อ่างทอง อยุธยา และนนทบุรี
                               นนทบุรี       ลักษณะลุ่มน�้าวางตัวตามแนวทิศเหนือ-ใต้  สภาพทั่วไปของลุ่มน�้าท่าจีน
                               พระนครศรีอยุธยา   เป็นที่ราบลุ่มริมแม่น�้าซึ่งเป็นที่รายเดียวกันกับที่ราบลุ่มน�้าเจ้าพระยาฝั่ง
                                             ตะวันตก ตอนบนของลุ่มน�้าเป็นที่เชิงเขาแต่มีระดับไม่สูงมากนัก ส่วนตอน
                               ราชบุรี       กลางและตอนล่างเป็นที่ราบลุ่มติดต่อกับที่ราบลุ่มของลุ่มน�้าแม่กลอง แม่น�้า
                               สมุทรสงคราม   ท่าจีนแยกออกมาทางฝั่งขวาของแม่น�้าเจ้าพระยาที่ต�าบลมะขามเฒ่า อ�าเภอ
                               สมุทรสาคร สิงห์บุรี  วัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม และออกสู่อ่าวไทย
                               สุพรรณบุรี    ที่จังหวัดสมุทรสาคร ความยาวรวม 323 กม. โดยแม่น�้าท่าจีนมีชื่อ
                               อ่างทอง อุทัยธานี  เรียกต่างๆ กันตั้งแต่ต้นน�้าจนถึงปากแม่น�้า คือ คลองมะขามเฒ่า แม่น�้า
                                             สุพรรณบุรี แม่น�้านครชัยศรี และแม่น�้าท่าจีน

            14  แม่กลอง    8   กาญจนบุรี     ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ลุ่มน�้า 30,228.12 ตร.กม.
                                                                              ้
                                                                              �
                               นครปฐม        แบ่งตามสภาพภูมิประเทศเป็น 2 บริเวณ คือบริเวณลุ่มนาแม่กลองตอนบนและ
                               สมุทรสงคราม   ตอนล่าง โดยเขตลุ่มน�้าแม่ตอนบนเริ่มตั้งแต่เขตอ�าเภอเมืองกาญจนบุรี
                               อุทัยธานี     ที่ล�าน�้าแควใหญ่และแควน้อย ไหลมาบรรจบกัน ขึ้นไปยังที่สูงในเทือกเขา
                               สมุทรสาคร     ที่เป็นต้นน�้า ส่วนบริเวณที่เป็นลุ่มน�้าแม่กลองตอนล่าง คือสองฝั่งแม่น�้า
                                             แม่กลองจากเขตอ�าเภอเมืองกาญจนบุรีไปจนออกอ่าวไทย ความแตกต่าง
                               สุพรรณบุรี    ระหว่างสองบริเวณนี้ก็คือ สภาพภูมิประเทศทางตอนบนของลุ่มน�้าเป็นที่สูง
                               ตาก           ซึ่งเป็นบริเวณที่ล�าน�้าแควใหญ่และแควน้อยไหลผ่านซอกเขา และที่ราบ
                               ราชบุรี       ระหว่างเขาออกมาบรรจบกัน  สภาพภูมิประเทศสองฝั่งแม่น�้าแควใหญ่เป็น
                                             ป่าเขา จึงมีแหล่งที่สงวนไว้เป็นอุทยานและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหลายแห่ง
                                             เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อุทยานแห่งชาติเขาสลอบ ส่วนสภาพ
                                             ภูมิประเทศโดยท่วไปของลุ่มนาแควน้อยจะเป็นภูเขาใหญ่น้อยเรียงสลับซับซ้อน
                                                       ั
                                                              �
                                                              ้
                                             และสูงชัน บางแห่งเป็นหน้าผาสูง บางแห่งเป็นที่ราบ ล�าน�้าแควน้อยไหล
                                             ผ่านภูมิประเทศที่สวยงาม มีน�้าตก มีห้วย และล�าธารเล็กๆ ไหลลงล�าน�้า
                                             เกือบตลอดสาย ความยาวรวม 560 กิโลเมตร
            15  บางปะกง   11   กรุงเทพมหานคร   ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีพื้นที่ลุ่มน�้า 20,303 ตร.กม.
                               จันทบุรี      พื้นที่ส่วนใหญ่ครอบคลุมจังหวัดชลบุรี จันทรบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี
                               ชลบุรี        นครนายก และสระแก้ว สภาพทั่วไปของลุ่มน�้าบางปะกงส่วนใหญ่เป็นที่ราบ
                               นครราชสีมา    ทางเหนือจะมีเทือกเขาสูงซึ่งเป็นต้นก�าเนิดของแม่น�้านครนายก ส่วนทาง
                               สระแก้ว       ตอนใต้และทางตะวันออกเฉียงใต้ของลุ่มน�้ามีเทือกเขาซึ่งเป็นแนวแบ่งเขต
                                             ระหว่างจังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และจังหวัดจันทบุรี ซึ่งเป็นต้นก�าเนิดของ
                               ปราจีนบุรี    ล�าน�้าสาขาสายต่างๆ ได้แก่คลองใหญ่ คลองหลวง และคลองท่าลาด
                               สมุทรปราการ   โดยแม่น�้านครนายกมีทิศทางการไหลจากทิศเหนือลงมาทางทิศใต้และมา
                               สระบุรี       บรรจบกับแม่น�้าปราจีนบุรี ซึ่งไหลเข้ามาทางฝั่งซ้ายที่บริเวณเหนือ
                               ฉะเชิงเทรา    อ�าเภอบางน�้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ก่อนจะไหลลงทางใต้ผ่านที่ราบต�่า
                               นครนายก       ในเขตอ�าเภอบางคล้า และอ�าเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา และไหลลง
                               ปทุมธานี      อ่าวไทยที่อ�าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ความยาวรวม 400 กม.




                                           ขอมูลพื้นฐาน 22 ลมน�า
                                            ้
                                                         ุ่
                                                           ้
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48