Page 46 - Annual 22 Basin of thailand
P. 46

จ�ำนวน     จังหวัด
             ลุ่มน�้ำหลัก                                    สภำพภูมิประเทศ
                       จังหวัด  ในพื้นที่ลุ่มน�้ำ
          20   ทะเลสาบ   6    ตรัง          เป็นลุ่มน�้าแห่งเดียวของประเทศไทย ที่มีระบบทะเลสาบแบบลากูน
               สงขลา          นครศรีธรรมราช    (Lagoon) ขนาดใหญ่ เป็นแอ่งรองรับน�้าจืด (น�้าฝน น�้าจืดจากคลอง
                              พัทลุง        และน�้าหลากจากแผ่นดิน) โดยมีน�้าเค็มจากทะเลไหลเข้ามาผสมผสาน
                              สตูล          ต้นก�าเนิดของแม่น�้าสาขาย่อยของลุ่มน�้าทะเลสาบสงขลาส่วนใหญ่อยู่ใน
                              สงขลา         จังหวัดพัทลุง มีพื้นที่ลุ่มน�้า 11,991.59 ตร.กม. ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่
                                            ของจังหวัดสงขลา พัทลุง และบางส่วนของนครศรีธรรมราชและยะลา
                              ยะลา
                                            สภาพภูมิประเทศทางด้านตะวันตกของลุ่มน�้ามีเทือกเขานครศรีธรรมราช
                                            ทอดยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้ ซึ่งเป็นเขตติดต่อระหว่างจังหวัดตรังกับ
                                            จังหวัดพัทลุงและประเทศมาเลเซีย ทางตอนใต้ และค่อยๆ ลาดเทลงมาสู่
                                            ทะเลสาบสงขลา ส่วนทางด้านตะวันออกของลุ่มน�้าจะเป็นสันทรายยาว
                                            จากทิศเหนือจรดทิศใต้ โดยมีทะเลสาบสงขลาตั้งอยู่กลางลุ่มน�้าค่อนไปทาง
                                            ตะวันออก ประกอบด้วย 3 ส่วน จากปากทะเลสาบ คือทะเลสาบสงขลา
                                            ทะเลสาบ (ประกอบด้วยเกาะ 2 เกาะ คือเกาะใหญ่ และเกาะสี่เกาะห้า)
                                            และทะเลหลวง ลุ่มน�้าทะเลสาบสงขลา

          21   ภาคใต้ฝั่ง  4  นราธิวาส      ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย มีพื้นที่ลุ่มน�้า 10,605.45 ตร.กม.
               ตะวันออก       ยะลา          ลักษณะลุ่มน�้าเป็นแนวยาววางตัวอยู่ตามแนวทิศเหนือ-ใต้ มีต้นก�าเนิดจาก
               ตอนล่าง        ปัตตานี       เทือกเขาสันกลาคีรีในเขตอ�าเภอเบตง จังหวัดยะลา ไหลจากทิศใต้ขึ้นไป
                              สงขลา         ทางทิศเหนือ แล้วไหลงอ่าวไทยที่อ�าเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี พื้นที่
                                            ส่วนใหญ่เป็นป่าเขามีพื้นที่ราบเล็กน้อย ทางตอนล่างของลุ่มน�้าเป็นที่ราบลุ่ม
                                            มีความยาวล�าน�้าประมาณ 240 กม.


          22   ภาคใต้ฝั่ง  11  ภูเก็ต กระบี่ ชุมพร ตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย พื้นที่ติดกับชายฝั่งทะเลอันดามัน มีขนาด
               ตะวันตก        ตรัง พังงา พัทลุง   พื้นที่ลุ่มน�้า 19,732.99 ตร.กม มีเทือกเขาภูเก็ตพาดผ่านจากจังหวัดระนอง
                              สตูล ระนอง สงขลา    ลงมาจนถึงจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นต้นก�าเนิดแม่น�้าสายต่างๆ แม่น�้าและล�าน�้า
                              สุราษฎร์ธานี   ทั่วไปมีความยาวไม่มากนัก และไหลลงสู่ทะเลอันดามันไปทางทิศตะวันตก
                              นครศรีธรรมราช  และตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ สภาพภูมิประเทศเกิดจากแผ่นดินยุบตัว
                                            ลงไป ชายฝั่งทะเลเว้าแหว่งมีอ่าวและเกาะต่างๆ มากมาย เกาะที่ส�าคัญ
                                            ได้แก่ เกาะภูเก็ต เกาะตะรุเตา เกาะลันตา เกาะลิบง เกาะพระทอง และ
                                            เกาะยาวใหญ่ มีป่าชายเลนขึ้นอยู่ตั้งแต่จังหวัดพังงาลงไปถึงจังหวัดสตูล






















                                                          ้
                                                        ุ่
                                         ขอมูลพื้นฐาน 22 ลมน�า
                                          ้
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51