Page 44 - Annual 22 Basin of thailand
P. 44

จ�ำนวน     จังหวัด
             ลุ่มน�้ำหลัก                                    สภำพภูมิประเทศ
                       จังหวัด  ในพื้นที่ลุ่มน�้ำ
          16   โตนเลสาบ  3    จันทบุรี      ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศไทย มีพื้นที่ลุ่มน�้า 4,148.12 ตร.กม.
                                                                         ้
                                                                         �
                              สระแก้ว       ส่วนใหญ่อยู่ในเขตจังหวัดสระแก้วและจันทบุรี ลุ่มนาทอดตัวยาวจากทิศเหนือ
                              ตราด          ลงสู่ทิศใต้ สภาพพื้นที่ตอนบนเป็นแนวเทือกเขาบรรทัดซึ่งกั้นเขตพื้นที่
                                            จังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดปราจีนบุรี เป็นต้นก�าเนิของล�าน�้าต่างๆ หลายสาย
                                            พื้นที่ในเขตอ�าเภอตาพระยาส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีที่ราบริมล�าน�้า ส�าหรับ
                                            พื้นที่ตอนกลางของลุ่มน�้าซึ่งอยู่ในเขตอ�าเภออรัญประเทศและวัฒนานคร
                                            เป็นที่ราบโดยลาดเทลงจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ส่วนในเขตอ�าเภอ
                                            วัฒนานครจะเป็นที่ราบสูงและมีภูเขาซึ่งเป็นต้นก�าเนิดของคลองน�้าใส พื้นที่
                                            ทางตอนใต้ในเขตอ�าเภอโป่งน�้าร้อนมีสภาพเป็นภูเขาสูง มีเทือกเขาสอยดาว
                                            เป็นต้น เป็นต้นก�าเนิดของคลองพระพุทธและคลองโป่งน�้าร้อน เนื่องจาก
                                            สภาพพื้นที่มีความลาดเทจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก จึงไหลออก
                                            ไปทางประเทศกัมพูชาและลงทะเลสาบเขมร


                                                                           ี
                                             ั
                                                                         ื
          17   ชายฝั่ง   5    ระยอง         ต้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศไทย มีขนาดพ้นท่ลุ่มนา 13,524.29 ตร.กม.
                                                                             �
                                                                             ้
               ทะเลตะวัน      ฉะเชิงเทรา    ลักษณะลุ่มน�้าวางตัวตามแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก  ลักษณะภูมิประเทศ
               ออก            ตราด          ส่วนใหญ่เป็นแนวเทือกเขาทอดตัวอยู่ตามแนวเหนือ-ใต้ สลับกับที่ราบ
                              จันทบุรี      และมีแนวเขาทอดยาวตลอดแนวทางฝั่งตะวันออกของลุ่มน�้า จากตอนบน
                              ชลบุรี        ของพื้นที่ลุ่มน�้าลงมาจะเป็นที่ราบ ลุ่มน�้าเจ้าพระยาและลุ่มน�้าบางปะกง
                                            ขนานไปกับชายฝั่งทะเลไปจนถึงจังหวัดระยองซึ่งเป็นที่ราบชายฝั่ง
                                            ทะเลแคบๆ บางช่วงชายฝั่งทะเลจะมีลักษณะเว้าแหว่ง บางแห่งเป็น
                                            ปากแม่น�้าและมีป่าชายเลน บางแห่งเป็นหาดทรายสวยงามซึ่งเป็นสถานที่
                                                  ี
                                                ี
                                            ท่องเท่ยวท่สาคัญ เช่น หาดบางแสน หาดจอมเทียน และหาดพัทยาในจังหวัด
                                                   �
                                            ชลบุรี ส่วนพื้นที่ด้านตะวันออกของจังหวัดชลบุรีและตอนบนของจังหวัด
                                            ระยองจะเป็นที่ราบลูกคลื่นและเนินเขา ก่อนจะเข้าเขตเทือกเขาทางด้าน
                                            ตะวันออกสุดของลุ่มน�้า นอกจากนี้ลุ่มน�้าชายฝั่งทะเลตะวันออกยังมีส่วนที่
                                            เป็นเกาะ ซึ่งประกอบด้วยหมู่เกาะต่างๆ มากกว่า 50 เกาะ อยู่ห่างจาก
                                            ชายฝั่งตั้งแต่ 2-40 กม. เกาะที่ส�าคัญ ได้แก่ เกาะเสม็ดในจังหวัดระยอง
                                            เกาะช้างและเกาะกูดในจังหวัดตราด เกาะสีชังและเกาะล้านในจังหวัดชลบุรี
                                            เป็นต้น























                                         ขอมูลพื้นฐาน 22 ลมน�า
                                          ้
                                                        ุ่
                                                          ้
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49