Page 72 - Annual 22 Basin of thailand
P. 72
5.2 สภาพปัญหาด้านนํ้าท่วมและอุทกภัย
ุ่
ปัญหาอุทกภัยโดยท่วไปจะมีสาเหตุจากฝนท่ตกหนักในพ้นท่ลมน�า และจากสภาพทางกายภาพในลมน�า
ั
้
้
ื
ี
ุ่
ี
่
ื
ื
้
ี
้
้
�
ี
่
ื
่
เช่น พ้นทป่าต้นน�าตอนบนถูกทาลาย การขาดแหล่งเก็บกักน�าขนาดใหญ่ในพ้นทลุ่มน�าตอนบนเพอช่วย
ชะลอน�้าหลาก ประสิทธิภาพของระบบระบายน�้าไม่เพียงพอ เนื่องจากตื้นเขินหรือถูกบุกรุก มีสิ่งกีดขวาง
ื
ี
ื
ี
้
้
ี
้
ทางน�า การเปล่ยนแปลงสภาพการใช้ท่ดิน มีการไหลหลากของน�าจากพ้นท่ลุ่มน�าตอนบนลงสู่พ้นท ี ่
ี
ลุ่มน�าตอนล่าง และในบางพ้นท่มีปัญหาน�าทะเลหนุน ทาให้การระบายน�าจากลาน�าเป็นไปได้ช้า เป็นต้น
�
้
�
ื
้
้
้
ปัญหาน�้าท่วมมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น มีสาเหตุมากจากหลากหลายปัจจัย ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1) การผันแปรของปริมาณฝนอันเนื่องจาก 6) มีส่งกีดขวางการไหลของน�าในลาน�า
้
ิ
้
�
�
การเปล่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ทาให้ ท้งท่เป็นส่งกีดขวางตามธรรมชาติในลาน�า เช่น
ี
ี
้
�
ิ
ั
การกระจายตัวของปริมาณฝนเปล่ยนแปลง เกาะแก่งต่าง ๆ ในลาน�า และส่งกีดขวางท่มนุษย์
ี
ี
้
�
ิ
ส่งผลกระทบต่อการเกิดน�าท่วม คือ เกิดภาวะ สร้างข้น เช่น อาคารควบคุมน�าท้งแบบถาวรและ
้
้
ั
ึ
ั
ฝนตกหนักในช่วงเวลาส้น ๆ ปริมาณฝนตกวัดได้ แบบชั่วคราว (เช่น น�ากระสอบทราย ถมลงน�าลาน�า ้
�
้
�
ี
มากกว่าค่าปกติท่เคยเกิดและบ่อยครั้ง ทาให้ เพ่อกั้นน�าในชวงฤดูแล้งแตจะเปนอุปสรรคการไหล
่
ื
้
่
็
ประสิทธิภาพการระบายน�าเดิมไม่สามารถรองรับ ในชวงฤดูฝน เปนตน) สะพานท่อลอดตาง ๆ รวมท้ง ั
้
่
่
็
้
ปริมาณฝนตกที่เพิ่มขึ้นได้ บ้านเรือนที่อยู่อาศัยที่สร้างลงไปในล�าน�้า เป็นต้น
่
้
�
2) การเกิดน�้าท่วมในพ้นท่ริมสองฝังลาน�า 7) น�าทะเลหนุน ทาให้การไหลของน�า
ื
ี
�
้
้
�
จากการบุกรุกทาการเกษตรและลักลอบตัดไม้ ในแม่น�าล่าช้าหรืออาจจะหยุดไหล น�าในแม่น�า
้
้
้
ในพื้นที่ต้นน�้า จึงไม่สามารถระบายลงสทะเลได้ ระดับน�าจึงสงขน
้
ู
ู่
้
ึ
�
3) การขยายตัวของชุมชนทอยู่ริมลาน�า ท่วมบริเวณริมฝั่งแม่น�้าได้ โดยเฉพาะปลายแม่น�้า
้
ี
่
�
้
ซึ่งทาให้ความสามารถในการระบายน�าของลาน�า ที่อยู่ติดทะเล
�
้
ื
�
มีจากัด เนื่องจากการบุกรุกในพ้นท่ชุมชน การตื้นเขิน การประเมินพ้นท่เส่ยงต่อการเกิดภัยแล้ง
ี
ี
ื
ี
้
�
เนื่องจากการตกตะกอนในลาน�า โดยเฉพาะบริเวณ ได้ใช้ปัจจัยในการประเมินทั้งหมด 9 ปัจจัย ได้แก่
พื้นที่หน้าฝายที่ไม่ได้มีการขุดลอก ปริมาณน�าฝนรายปี จานวนวันท่ฝนตก เขตชลประทาน
�
ี
้
่
ื
ี
้
4) ปริมาณน�าท่ไหลผานพ้นท่เมืองตอนล่าง และแหล่งน�้า แหล่งน�้าใต้ดิน พืชปกคลุมดิน สภาพ
ี
้
ุ่
ของลมน�ามีปริมาณมาก และเกินกว่าความสามารถ การระบายน�า ความลาดชัน ความหนาแน่นของลาน�า
้
�
้
้
ี
ของการรับน�้าของล�าน�้า ในลุ่มน�าย่อย และขนาดของพ้นท่ลุ่มน�าย่อย
ื
้
่
5) พ้นท่ทายน�าของตัวเมืองบางแหงมีความ โดยท�าการจ�าแนกความเสี่ยงออกเป็น 4 ระดับ คือ
้
้
ื
ี
ื
ี
ื
�
ลาดชันน้อย มีการตื้นเขินของแม่น�าลาคลอง ซึ่งเป็น พ้นท่เส่ยงมาก พ้นท่เส่ยงปานกลาง พ้นท่เส่ยงน้อย
ี
ี
้
ี
ื
ี
ี
�
ปัจจัยท่ทาให้มีความสามารถในการระบายน�้า และพื้นที่ไม่เสี่ยง
ี
เป็นไปได้อย่างจ�ากัด
ื
่
ี
้
ุ
ั
ื
้
ี
่
ี
่
่
ี
สาหรับพนทเสยงต่อการเกิดอุทกภยในพนทล่มน�าหลกต่างๆ ได้แสดงไว้ในรูปท 5.2-1 และ
�
ั
้
แสดงพื้นที่เสี่ยงภัยระดับต่างๆ รายลุ่มน�้าหลัก ไว้ในตารางที่ 5.2-1
้
ุ่
้
ขอมูลพื้นฐาน 22 ลมน�า