Page 27 - คู่มือบริการภาครัฐ สนง. ปปท.ปี 2566
P. 27

คำนำ   7       แนวทาง Road Map

                การพัฒนาศูนยขับเคล�่อนการบร�การภาครัฐ

                สำหรับนักลงทุนและชาวต‹างชาติ ระยะ 5 ป                          ‚
    สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.) เปนหนวยงาน
 ของรัฐภายใตการบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีหนาที่และอำนาจตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหาร  (พ.ศ. 2566 - 2570)
 ในการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551 และที่แกไขเพิ่มเติม
    ตลอดระยะหลายปที่ผานมา สำนักงาน ป.ป.ท. ไดปลูกฝงจิตสำนึก ทัศนคติ และคานิยมความซื่อสัตยสุจริต
 ใหแกเจาหนาที่ของรัฐ รวมทั้งกำหนดใหมีมาตรการและกลไกการสงเสริมธรรมาภิบาลใหแกหนวยงานภาครัฐ ตลอดจน  ประเด็นที่ 1
                                     พัฒนาเครือขายความรวมมือ
 การสนับสนุนใหภาคประชาชนเกิดความตื่นตัวและเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหาการทุจริต แตสถานการณ  ระหวางหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน
                                    (Encourage Collaboration)
 การทุจริตและประพฤติมิชอบ ยังคงเปนความทาทายของรัฐบาลที่ตองดำเนินการแกไข ดังจะเห็นจากคะแนนดัชนี
 การรับรูการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ปพุทธศักราช 2565 ประเทศไทยไดคะแนน 36 คะแนน  ประเด็นที่ 2
                        ประเด็นที่ 5
 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อยูในลำดับที่ 101 จาก 180 ประเทศทั่วโลก   เสริมสรางการรับรูที่ตอเนื่องและโปรงใส  พัฒนาระบบการติดตามตรวจสอบการบริการ
                                                 ภาครัฐ เพื่อสรางความโปรงใส เปนธรรม
    สำนักงาน ป.ป.ท. จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐ ภาคประชาชน  (Transparent communication)  (Ensure fairness and impartiality)
 และภาคเอกชน จึงไดจัดตั้ง “ศูนยขับเคลื่อนการบริการภาครัฐสำหรับนักลงทุนและชาวตางชาติ เรียกโดยยอวา
 ศบช.” ขึ้น เพื่อเปนกลไกในการประสานงานและขับเคลื่อนการบริการภาครัฐระหวางหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน  ประเด็นที่ 4  ประเด็นที่ 3
                     พัฒนาคุณภาพของเจาหนาที่ของรัฐใหมีความ  พัฒนาระบบการจัดการเรื่องรองเรียนและคุมครอง
 ในการสรางความเชื่อมั่นใหเกิดขึ้นตอการบริการของหนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐ รวมทั้งแกไขปญหาการทุจริต  เชี่ยวชาญและเปนมืออาชีพ (Maintain high  ขอมูล เบาะแส (Establish a responsive
                       standards of professionalism &
                                              system and Whistleblower Protection)
 โดยเฉพาะปญหาสินบน (Bribery) ที่กระทบตอตนทุนการผลิตและการแขงขันที่ไมเปนธรรมของภาคเอกชน และ  Demonstrate expertise)
 ผลกระทบตอประชาชนที่อาจไดรับสินคาหรือบริการที่ไมมีคุณภาพหรือมีราคาสูงเกินจริง
    ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงาน ป.ป.ท. จึงจัดทำสื่อและคูมือสงเสริมธรรมาภิบาลและการมีสวนรวม
 ใหความรูเกี่ยวกับการเขาถึงบริการภาครัฐ โดย ศบช. รวมกับกลุมงานปองกันการทุจริตในภาครัฐ สำนักงาน ปปท.  8  แบบประเมินการรับรูŒการทุจร�ตต‹อการบร�การ
 เขต 1 - 9 จัดทำคูมือบริการภาครัฐสำหรับภาคเอกชน นักลงทุน และชาวตางชาติ กรณีไมไดรับความสะดวกหรือ  ภาครัฐสำหรับนักลงทุน และชาวต‹างชาติ
 ไดรับความเดือดรอนจากการดำเนินงานของหนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐฉบับนี้ เพื่อประชาสัมพันธบทบาทหนาที่
 ของสำนักงาน ป.ป.ท. ในการชวยเหลือผูประกอบการ ภาคเอกชน นักลงทุนชาวไทยและชาวตางชาติไดสามารถ
 เขาถึงการบริการภาครัฐที่สะดวก รวดเร็ว โปรงใส เปนธรรม และปราศจากการทุจริต โดยรวบรวมขอกฎหมาย
 กรณีศึกษาและการบริการภาครัฐที่นาสนใจ ตลอดจนชองทางการรองเรียนและแจงเบาะแส รวมถึงชองทางในการติดตอ
 และประสานงานระหวางสำนักงาน ป.ป.ท. กับภาคเอกชน และผูที่สนใจ เพื่อนำไปสูการแกไขปญหาความเดือดรอน
 หรือความไมสะดวกของนักลงทุนและชาวตางชาติไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ


 ศูนยขับเคลื่อนการบริการภาครัฐสำหรับนักลงทุนและชาวตางชาติ
 สำนักงาน ป.ป.ท.
 กันยายน 2566




                                  คูมือบร�การภาครัฐ สำหรับภาคเอกชน นักลงทุน และชาวตางชาติ  25
   22   23   24   25   26   27   28