Page 33 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 33

-35-
พิพากษายืนตาม หรือเพียงแตแกไขเล็กนอย หรือในคดีอาญาที่ศาลอุทธรณพิพากษายืนตาม ศาลชั้นตน ใหลงโทษจําคุกจําเลยไมเกิน 5 ป หรือปรับ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญามาตรา 218 หามฎีกาในปญหาขอเท็จจริง ทั้งนี้ ภายใตขอยกเวนบางประการ สวนขอกฎหมายนั้นคูความฎีกาไดเสมอ
กฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความอาญา (Law of Criminal Procedures)
เปนกฎหมายที่กําหนดหลักเกณฑและวิธีดําเนินการของพนักงานสอบสวน และศาล ในการเอาตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อาจกลาวไดวา เปนขั้นตอนในการปฏิบัติ ซึ่งสอดคลองกับประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งเปน เรื่องทฤษฎี หลักกฎหมายนี้ ไดแก ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477 ซึ่ง ตราบจนปจจุบันนี้ไดมีการแกไขเพิ่มเติมแลวหลายครั้ง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แบงออกเปน 7 ภาค คือ
ภาค 1 ขอความเบื้องตน กลาวคือ หลักทั่วไป อํานาจพนักงานสอบสวน และ ศาล การฟองคดีอาญา และคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา หมายเรียก และหมายอาญา จับ ขัง จําคุก คน ปลอยชั่วคราว
ภาค 2 สอบสวน ซึ่งกลาวถึงหลักทั่วไป และการสอบสวน
ภาค 3 วิธีพิจารณาในศาลชั้นตน ซึ่งกลาวถึงฟองคดีอาญา และไตสวนมูลฟอง ภาค 4 การพิจารณาของศาลอุทธรณ และชั้นศาลฎีกา
ภาค 5 พยานหลักฐาน ซึ่งกลาวถึงหลักทั่วไป พยานบุคคล พยานเอกสาร
พยานวัตถุ และผูชํานาญการพิเศษ
ภาค 6 บังคับตามคําพิพากษาและคาธรรมเนียม
ภาค 7 อภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเปนเบา และลดโทษ
กฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความแพง (Law of Civil Procedures)
เปนกฎหมายที่วาดวยการบังคับของเอกชนในทางแพง เพราะเมื่อราษฎร ประสงคจะใหรัฐบังคับตามสิทธิให จึงเปนหนาที่ของศาลที่จะตองดําเนินการใหเปนไป ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง นับวาสวนนี้เองที่กําหนดถึงความสัมพันธ ระหวางรัฐกับราษฎร จึงจัดไวในประเภทกฎหมายมหาชน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ไดแก ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง พ.ศ. 2477 และไดแกไขเพิ่มเติมหลายครั้ง มีลักษณะที่สําคัญ คือ แบงออกเปน 4 ภาค ดังนี้
  



















































































   31   32   33   34   35