Page 34 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 34

-36-
ภาค 1 บททั่วไป กลาวถึงบทวิเคราะห ศาล คูความ การยื่นและสงคําคูความ และเอกสารพยานหลักฐาน คําพิพากษา และคําสั่ง
ภาค 2 วิธีพิจารณาในศาลชั้นตน กลาวถึง วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั้นตน วิธี พิจารณาวิสามัญในศาลชั้นตน ไดแก วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร การพิจารณาโดยขาดนัด และอนุญาโตตุลาการ
ภาค 3 อุทธรณ และฎีกา
ภาค 4 วิธีการชั่วคราวกอนพิพากษา และการบังคับตามคําพิพากษา หรือคําสั่ง
กฎหมายมหาชนภายนอก
กฎหมายระหวางประเทศ (The International Law)
กฎหมายระหวางประเทศ หมายถึง บรรดากฎเกณฑตางๆ ที่มีอยูโดยจารีต ประเพณี หรือโดยการตราขึ้นไวเปนลายลักษณอักษรโดยนานาอารยประเทศ หรือโดย ความตกลงระหวางประเทศ ใชบังคับความสัมพันธระหวางสมาชิกของสังคมระหวาง ประเทศ ซึ่งไดแก รัฐและองคการระหวางประเทศ รวมไปถึงกฎเกณฑตางๆ เกี่ยวกับสิทธิ และหนาที่ของเอกชน หรือสถาบันใดๆ ที่ไมมีฐานะเทารัฐในกรณีที่เกี่ยวของกับกิจการ ระหวางประเทศ
ในสังคมระหวางประเทศนั้น ประเทศตางๆ มีความเกี่ยวพันซึ่งกันและกันได หลายประการ ดังนั้น กฎหมายระหวางประเทศจึงอาจจําแนกออกเปนประเภทตางๆ ตาม ลักษณะของความเกี่ยวพันได 3 ประการ คือ
1. กฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีเมือง
2. กฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีบุคคล
3. กฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีอาญา
1. กฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีเมือง เปนกฎหมายที่กําหนดหลักเกณฑ
ของความสัมพันธระหวางประเทศ ระหวางรัฐบาลของประเทศหนึ่งกับรัฐบาลของอีก ประเทศหนึ่ง ในฐานะที่รัฐเปนบุคคลตามกฎหมายระหวางประเทศ ยอมมีสิทธิและหนาที่ ตามกฎหมายดั่งเชนบุคคลธรรมดาคนหนึ่ง แตสิทธิและหนาที่ของประเทศนั้น ยอมเปน ความสัมพันธในชวงเวลาสันติ และชวงเวลาท่เี กิดกรณีพิพาท รวมไปถึงสงคราม การศึกษา ถึงกฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีเมือง จึงเปนการศึกษาถึงกฎเกณฑที่นํามาใชบังคับ ความสัมพันธระหวางรัฐในลักษณะตางๆ เปนตนวา สิทธิและหนาที่ของรัฐตามกฎหมาย ระหวางประเทศ กําหนดเขตแดนของรัฐทางบก ทางทะเล และทางอากาศ การแตงตั้ง
  




















































































   32   33   34   35   36