Page 36 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 36
-38-
ลงโทษการกระทําผิดนั้น อยางไรก็ตาม การสงผูรายขามแดนใหกับประเทศอื่นนั้น มิใช เปนหนาที่ตามกฎหมายที่ทุกประเทศจะตองปฏิบัติตามเสมอไป เพราะแตละประเทศยอมมี อํานาจที่จะใหความคุมครองผูที่หนีรอนมาพึ่งเย็น สําหรับความผิดบางอยาง เชน ถูก กลาวหาวากระทําผิดในทางการเมือง ดังนั้น ประเทศผูรับคําขออาจสงวนสิทธิไมยอมสง ผูรายขามแดนใหแกกันก็ได สําหรับประเทศไทย เรามีสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนกับ หลายประเทศ เชน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม สเปน อิตาลี และมาเลเซีย เปนตน
กฎหมายเอกชน (Private Law)
คือกฎหมายที่กําหนดสิทธิและหนาที่และความเกี่ยวพันระหวางเอกชนกับ เอกชนดวยกัน ในฐานะที่เทาเทียมกัน กลาวคือ เปนกฎหมายที่คุมครองความเสมอภาคของ บุคคลในเรื่องที่เกี่ยวกับการติดตอในทางการประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิต กฎหมาย เอกชน ไดแก ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย รวมทั้งกฎหมายอื่นๆ ที่กําหนดสิทธิ ในทางแพง
กฎหมายเอกชนของไทย มีลักษณะรวมเอากฎหมายแพง และกฎหมายพาณิชย เขาไวดวยกัน เพราะเรื่องเกี่ยวกับพาณิชยของไทยยังเจริญกาวหนาไมมากนัก ฉะนั้น ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของไทยจึงแบงออกเปน 6 บรรพ ไดแก
บรรพ 1 เปนหลักเกณฑทั่วไป
บรรพ 2 เปนเรื่องเกี่ยวกับหนี้
บรรพ 3 เปนเรื่องเกี่ยวกับเอกเทศสัญญา
บรรพ 4 เปน เรื่องเกี่ยวกับทรัพยสิน
บรรพ 5 เปนเรื่องเกี่ยวกับครอบครัว
บรรพ 6 เปนเรื่องเกี่ยวกับมรดก
สวนกฎหมายอื่นๆ หมายความวา มีกฎหมายอื่นๆ นอกเหนือจากประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย แตไดประกาศใชในภายหลัง เชน
1. พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 กําหนดความสัมพันธระหวาง
ลูกจางกับนายจาง
2. พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน พ.ศ. 2535 กําหนดถึงวิธีการจัดตั้งบริษัท
มหาชนจํากัด
โดยสรุปแลว ประเทศที่ใชกฎหมายลายลักษณอักษร เชน ฝรั่งเศส เยอรมัน
ญี่ปุน นิยมแบงกฎหมายมหาชน และกฎหมายเอกชน โดยมีการแบงแยกศาล ใหศาล