Page 59 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 59
ชุดวิชาที่ ๒
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
๒.๑ การทุจริต
ำ
ปัญห�ก�รทุจริต เป็นปัญห�ที่ส�คัญทั้งของประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ปัญห�
ก�รทุจริตจะทำ�ให้เกิดคว�มเสื่อมในด้�นต่�งๆ เกิดขึ้น ทั้งสังคม เศรษฐกิจ ก�รเมือง และนับวันปัญห�
ดังกล่�วก็จะรุนแรงม�กขึ้น และมีรูปแบบก�รทุจริตที่ซับซ้อน ย�กแก่ก�รตรวจสอบม�กขึ้น จ�กเดิมที่
ำ
่
ั
้
้
ำ
่
ำ
้
่
ำ
กระท�เพียงสองฝ�ยปจจุบันก�รทุจริตจะกระท�กันหล�ยฝ�ย ทั้งผูด�รงต�แหนงท�งก�รเมือง เจ�หน�ที่
้
่
ของรัฐ และเอกชน โดยประกอบดวยสองสวนใหญๆ คือ ผูใหผลประโยชนกับผูรับผลประโยชน ซึ่งทั้งสอง
้
์
้
์
่
้
ั
่
์
์
่
ำ
่
ฝ�ยนี้จะมีผลประโยชนรวมกัน ตร�บใดที่ผลประโยชนสมเหตุสมผลตอกัน ก็จะน�ไปสูปญห�ก�รทุจริตได ้
่
บ�งครั้งผู้ที่รับผลประโยชน์ก็เป็นผู้ให้ประโยชน์ได้เช่นกัน โดยผู้รับผลประโยชน์และผู้ให้ผลประโยชน์ คือ
๑. ผู้รับผลประโยชน์ จะเป็นเจ้�หน้�ที่ของรัฐ ซึ่งมีอำ�น�จ หน้�ที่ในก�รกระทำ� ก�รดำ�เนินก�ร
ต่�งๆ และรับประโยชน์จะเป็นไปในรูปแบบต่�งๆ เช่น ก�รจัดซื้อจัดจ้�ง ก�รเรียกรับประโยชน์โดยตรง
ก�รกำ�หนดระเบียบหรือคุณสมบัติที่เอื้อต่อตนเองและพวกพ้อง
๒. ผู้ให้ผลประโยชน์ เช่น ภ�คเอกชน โดยก�รเสนอผลตอบแทนในรูปแบบต่�งๆ เช่น เงิน สิทธิ
พิเศษอื่นๆ เพื่อจูงใจให้นักก�รเมือง เจ้�หน้�ที่ของรัฐ กระทำ�ก�รหรือไม่กระทำ�ก�รอย่�งใดอย่�งหนึ่งใน
ตำ�แหน่งหน้�ที่ซึ่งก�รกระทำ�ดังกล่�วเป็นก�รกระทำ�ที่ฝ่�ฝืนต่อระเบียบหรือผิดกฎหม�ย เป็นต้น
๒.๑.๑ ทุจริต คืออะไร
ำ
ค�ว่�ทุจริต มีก�รให้คว�มหม�ยได้ม�กม�ย หล�กหล�ย ขึ้นอยู่กับว่�จะมีก�รให้คว�มหม�ย
ำ
ดังกล่�วไว้ว่�อย่�งไร โดยที่ค�ว่�ทุจริตนั้น จะมีก�รให้คว�มหม�ยโดยหน่วยง�นของรัฐ หรือก�รให้
ำ
คว�มหม�ย โดยกฎหม�ยซึ่งไม่ว่�จะเป็นก�รให้คว�มหม�ยจ�กแหล่งใด เนื้อห�ส�คัญของค�ว่�ทุจริต
ำ
ก็ยังคงมีคว�มหม�ยที่สอดคล้องกันอยู่ นั่นคือ ก�รทุจริตเป็นสิ่งที่ไม่ดี มีก�รแสวห�หรือเอ�ผลประโยชน์
ของส่วนรวม ม�เป็นของส่วนตัว ทั้งๆ ที่ตนเองไม่ได้มีสิทธิในสิ่งๆ นั้น ก�รยึดถือ เอ�ม�ดังกล่�วจึงถือเป็น
สิ่งที่ผิด ทั้งในแง่ของกฎหม�ยและศีลธรรม
ในแง่ของกฎหม�ยนั้น ประเทศไทยได้มีก�รก�หนดถึงคว�มหม�ยของก�รทุจริตไว้หลักๆ
ำ
ในกฎหม�ย ๒ ฉบับ คือ
ประมวลกฎหมายอาญา ม�ตร� ๑ (๑) “โดยทุจริต” หม�ยถึง “เพื่อแสวงห�ประโยชนที่มิควรได ้
์
โดยชอบด้วยกฎหม�ยสำ�หรับตนเองหรือผู้อื่น”
้
่
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑
้
่
ำ
้
่
่
ม�ตร� ๔ ค�ว� “ทุจริตตอหน�ที่” หม�ยถึง “ปฏิบัติหรือละเวนก�รปฏิบัติอย�งใดในต�แหนงหรือหน�ที่
ำ
้
่
้
หรือปฏิบัติหรือละเว้นก�รปฏิบัติอย่�งใดในพฤติก�รณ์ ที่อ�จท�ให้ผู้อื่นเชื่อว่�มีต�แหน่งหรือหน้�ที่ทั้ง
ำ
ำ
52 ชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)