Page 65 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 65
ำ
แต่จะแฝงตัวอยู่ในรูปแบบต่�งๆ ห�กไม่พิจ�รณ�ให้ดีแล้วอ�จมองได้ว่�ก�รกระท�ดังกล่�วไม่ใช่ก�ร
ทุจริต แต่แท้จริงแล้วก�รกระทำ�นั้นเป็นก�รทุจริตอย่�งหนึ่ง และร้�ยแรงม�กพอที่จะส่งผลกระทบ และ
ก่อให้เกิดคว�มเสียห�ยต่อสังคม ประเทศช�ติได้เช่นกัน ตัวอย่�งเช่น ก�รประเมินผลก�รปฏิบัติง�นซึ่งผู้
้
่
้
ำ
่
้
้
บังคับบัญช�ใหคะแนนประเมินพิเศษแกลูกนองที่ตนเองชอบ ท�ใหไดรับเงินเดือนในอัตร�ที่สูงกว�คว�ม
็
้
้
เปนจริงที่บุคคลนั้นควรจะไดรับ เปนตน ก�รกระท�ดังกล�วถือเปนคว�มผิดท�งวินัย ซึ่งเจ�หน�ที่ของรัฐ
็
้
้
็
ำ
่
จะมีบทบัญญัติเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้�ร�ชก�รพลเรือนให้ยึดถือปฏิบัติอยู่แล้ว ซึ่งห�กเกิดกรณีดัง
กล่�วขึ้นเท่�กับว่�เป็นก�รกระทำ�ที่ทุจริตและประพฤติผิดประมวลจริยธรรมอีกด้วย
๒.๑.๕ สถานการณ์การทุจริตของประเทศไทย
ก�รทุจริตที่เกิดขึ้นยอมสงผลตอภ�พลักษณของประเทศ ห�กประเทศใดมีก�รทุจริตนอยจะสงผล
่
่
์
่
้
่
ให้ประเทศนั้นมีคว�มเป็นอยู่ที่ดี นักลงทุนมีคว�มต้องก�รที่จะม�ลงทุนในประเทศ ซึ่งหม�ยถึงเศรษฐกิจ
่
้
่
้
่
็
่
ของประเทศจะส�ม�รถพัฒน�ไปไดอย�งตอเนื่อง แตห�กมีก�รทุจริตเปนจำ�นวนม�กนักธุรกิจยอมไมกล�
่
ที่จะลงทุนในประเทศนั้นๆ เนื่องจ�กต้องเสียค่�ใช้จ่�ยในก�รท�ธุรกิจที่ม�กกว่�ปกติ แต่ห�กส�ม�รถ
ำ
ด�เนินธุรกิจดังกล่�วได้ผลที่เกิดขึ้นย่อมตกแก่ผู้บริโภคที่จะต้องซื้อสินค้�และบริก�รที่มีร�ค�สูง หรือ
ำ
อีกกรณีหนึ่งคือก�รใช้สินค้�และบริก�รที่ไม่มีคุณภ�พ ดังนั้น จึงได้มีก�รวัดและจัดอันดับประเทศต่�งๆ
เพื่อบ่งบอกถึงสถ�นก�รณ์ก�รทุจริต ซึ่งก�รทุจริตที่ผ่�นม�นอกจ�กจะพบเห็นข่�วก�รทุจริตด้วยตนเอง
และผ�นสื่อต�งๆ แลว ยังมีตัวชี้วัดที่ส�คัญอีกตัวหนึ่งที่ไดรับก�รยอมรับ คือ ตัวชี้วัดขององคกรเพื่อคว�ม
้
์
่
้
ำ
่
่
์
์
ำ
้
โปรงใสน�น�ช�ติ (Transparency International : TI) ไดจัดอันดับดัชนีชี้วัดภ�พลักษณคอรรัปชันประจ�
ปี ๒๕๖๐ พบว่� ประเทศไทยได้ ๓๗ คะแนน จ�กคะแนนเต็ม๑๐๐ คะแนน อยู่อันดับที่ ๙๖ จ�กก�ร
จัดอันดับทั้งหมด ๑๘๐ ประเทศทั่วโลก ห�กเทียบกับปี ๒๕๕๙ ประเทศไทยได้คะแนน ๓๕ คะแนน อยู่
ลำ�ดับที่ ๑๐๑ เท่�กับว่�ประเทศไทย มีคะแนนคว�มโปร่งใสดีขึ้น แต่ยังแสดงให้เห็นว่� ประเทศไทยยัง
มีก�รทุจริตคอร์รัปชันอยู่ในระดับสูงซึ่งสมควรได้รับก�รแก้ไขอย่�งเร่งด่วน โดยคะแนนที่ประเทศไทยได้
รับตั้งแต่อดีต - ปัจจุบัน ได้คะแนนและลำ�ดับ ดังนี้
ตารางที่ ๑ แสดงภาพดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย ระหว่างปี ๒๕๔๗ - ๒๕๖๐
ปี พ.ศ. คะแนน อันดับ จำานวนประเทศ
๒๕๔๗ ๓.๖๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๖๔ ๑๔๖
๒๕๔๘ ๓.๘๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๕๙ ๑๕๙
๒๕๔๙ ๓.๖๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๖๓ ๑๖๓
๒๕๕๐ ๓.๓๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๘๔ ๑๗๙
๒๕๕๑ ๓.๕๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๘๐ ๑๘๐
๒๕๕๒ ๓.๔๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๘๔ ๑๘๐
๒๕๕๓ ๓.๕๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๗๘ ๑๗๘
๒๕๕๔ ๓.๔๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๘๐ ๑๘๓
58 ชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)