Page 35 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 2
P. 35
บทที่ 3
ตัวอย่างการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล
กับประโยชน์ส่วนรวมในรูปแบบต่างๆ
1. การรับผลประโยชน์ต่างๆ
1.1 นายสุจริต ข้าราชการช้นผู้ใหญ่ ได้เดินทางไปปฏิบัติราชการใน
ั
ั
ั
ี
้
ื
่
่
ึ
ั
ุ
ี
ั
พนทจงหวดบรรมย์ ซงในวนดังกล่าว นายรวย นายก อบต. ได้มอบงาช้าง
ื
จานวนหน่งคู่ให้แก่ นายสุจริต เพ่อเป็นของท่ระลึก นายสุจริตได้มอบงาช้าง
ึ
ี
�
ดังกล่าวให้หน่วยงานต้นสังกัด ตรวจสอบมูลค่าพร้อมทั้งด�าเนินการให้ถูกต้อง
ตามระเบียบและกฎหมาย แต่ต่อมา นายสุจริต พิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่
สมควรรับงาช้างดังกล่าวไว้ จึงเร่งให้หน่วยงานต้นสังกัดคืนงาช้างให้แก่นาย
รวย
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 103 ประกอบประกาศคณะกรรมการ
ป.ป.ช. เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา
�
ของเจ้าหน้าท่ของรัฐ พ.ศ. 2543 ข้อ 7 ประกอบข้อ 5(2) ได้กาหนดว่า
ี
เจ้าหน้าท่ของรัฐผู้ใดได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่นใดจากบุคคลอ่นท่มิใช่
ี
ื
ื
ี
ึ
ั
ญาติซ่งมีมูลค่าเกินกว่าสามพันบาท แล้วประสงค์จะรับทรัพย์สินน้นไว้เป็น
ั
สิทธิของตน จะต้องแจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ยวกับการรับทรัพย์สินน้น
ี
ั
้
ื
�
ั
ู
ั
ั
ต่อผ้บงคบบญชา หรอผ้มอานาจแต่งตงถอดถอนหรอคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ี
ู
ื
หรือประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา หรือประธานสภา
ท้องถ่นแล้วแต่กรณ ในทันทีท่สามารถกระทาได้ เพ่อวินิจฉัยว่ามีเหตุผล
ื
ิ
ี
ี
�
ความจาเป็น ความเหมาะสม และสมควรท่จะให้เจ้าหน้าท่ของรัฐผู้น้น
ี
ี
�
ั
ั
รับทรัพย์สินน้นไว้เป็นสิทธิของตนหรือไม่ เม่อข้อเท็จจริงในเร่องน้ปรากฏว่า
ื
ี
ื
35