Page 4 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 2
P. 4
โดยธรรมจรรยา ไม่ว่าจะเป็นการรับจากญาติหรือจากบุคคลท่ให้กันในโอกาส
ี
ต่างๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือวัฒนธรรม หรือให้กันตาม
มารยาทที่ปฏิบัติกันในสังคม
ส�าหรับประโยชน์อื่นใด ได้แก่ การลดราคา การรับความบันเทิง การรับ
บริการ การรับการฝึกอบรม หรือสิ่งอื่นใดในลักษณะเดียวกันนี้
ี
ั
�
กฎหมายกาหนดหลักเกณฑ์เก่ยวกบการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์
อื่นใด
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด (ตามพระราช
บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ. 2542 มาตรา 103 และประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่อง หลักเกณฑ์
ี
ื
การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่นใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ของรัฐ
พ.ศ. 2543) มีดังนี้
1. การรับตามกฎหมาย จะรับเพียงใดก็ได้ เช่น เงินเดือน เงินค่าเบี้ย
ี
เล้ยงเดินทางไปราชการ ค่าท่พักในการเดินทางไปราชการ สวัสดิการต่างๆ
ี
ท่ทางราชการจัดให้ ค่าสมนาคุณวิทยากร หรือสิทธิประโยชน์อ่นๆ ตามท ่ ี
ื
ี
ระเบียบกฎหมายก�าหนด
2. การรับตามธรรมจรรยา ไม่ว่าจากญาติหรือบุคคลที่ให้กันในโอกาส
ต่างๆ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือวัฒนธรรม หรือให้กันตามมารยาทที่
ปฏิบัติในสังคม มีหลักเกณฑ์ที่ควรระมัดระวังไว้ให้ดีคือ
2.1 รับจากญาติท่ให้โดยเสน่หา ไม่ว่าจะเป็น ปู่ ย่า ตา ยาย ลูก
ี
ี
หลาน พ น้อง ลุง ป้า น้า อา หรือจากญาติของคู่สมรส สามารถรับได้
่
แต่จ�านวนในการรับจะต้องเหมาะสมกับฐานานุรูปของญาติ
ิ
ี
2.2 รับจากบุคคลอ่นท่ไม่ใช่ญาต สามารถรับได้ โดยการรับจาก
ื
แต่ละบุคคล แต่ละครั้งไม่เกิน 3,000 บาท
2.3 รับจากท่เป็นการให้โดยท่วไป รับได้ท้งหมดไม่ว่าจะมีมูลค่า
ั
ี
ั
เท่าใด เช่น มูลนิธิแห่งหนึ่งแจกของให้กับประชาชนทั่วไปคนละ 5,000 บาท
โดยไม่ได้เลือกให้เฉพาะเจ้าหน้าที่หรือผู้ใดผู้หนึ่ง
4