Page 50 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 50
๓๖
้
“...ร่างจ้อยสีฟามีรอยด่างเป็นดวงตรงปลายแพนหาง ราวถูก
เจ้าของสัมผัสเป็นครั้งสุดท้ายด้วยหยาดน้ าตา...” เป็นต้น
กำรใช้อติพจน์ บินหลา สันกาลาคีรี ได้สร้างสรรค์ไว้มาก
ในเรื่องสั้นเรื่องนี้ สามารถพบเห็นได้บ่อยครั้งในนิทานทั่วไป และ
บินหลา สันกาลาคีรี สามารถน ากริยาอาการเกินจริงเหล่านี้มา
็
สร้างสรรค์ตัวละครให้มีเสน่ห์อย่างน่าเอนดู เช่น การเต้นระบ าของ
ดอกต้อยติ่ง ดังตัวอย่าง
“...ฝักต้อยติ่งบนฝ่ามือต่างหมุนตัวเล่นระบ าน้ าฝนกันอย่าง
สนุกสนาน... โดยเฉพาะพวกฝักแฝด มันมีวิธีเล่นที่ไม่เหมือนใคร มัน
แตกตัวพร้อมกัน และสลับขา โยนเมล็ดข้างในใส่กันด้วยความ
แม่นย า อย่างนักระบ าที่ฝึกฝนมาดี...”
ั
หรือกริยาอาการของรุ้ง สายฝน และพนธุ์ไม้จากเรื่อง สีที่แปดของ
รุ้งกินน้ า ดังตัวอย่าง
“...รุ้งก าลังกินน้ าอย่างเนิบนาบและมีความสุข...”
็
“...สายฝนเหมือนจะเอนดู จึงลดขนาดของหยาดน้ าลง พร่างเบาๆ
ราวฝอยพรม...”
ั
ั
“...ไม้เล็กไม้ใหญ่บานเบ่งเต่งดอก ช่วยกันซ่อนตัวเจ้าหญิงกนพลวัน
ี
ี
ไม่เพยงระริกระรี้ด้วยได้น้ าฝน พวกมันยังได้กุศลอกต่างหาก...”
เป็นต้น