Page 57 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 57

๔๓


                       วินทร์  เลียววาริน ใช้ชั้นเชิงทางวรรณศิลป์ เรียงร้อย

               เหตุการณ์และบุคคลในจินตนาการเข้ากับเหตุการณ์และบุคคลจริง
               อย่างผสานกลมกลืน ผ่านความคิดค านึงและบทสนทนาของตัว

               ละครเอก ผู้เป็นเสมือนตัวแทนคนในชาติที่ได้รับผลกระทบจาก

               ความผันผวนทางการเมืองตั้งแต่เริ่มเปลี่ยนแปลงการปกครองจนถึง
               ปัจจุบัน

                       ถ้ากล่าวถึงกลวิธีทางวรรณศิลป์ของเรื่องนี้ วินทร์  เลียววา
               ริน ได้สร้างผลงานไว้ดีมาก เขาใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการ

               พรรณนาเรื่องราวต้องการเน้นอารมณ์ความรู้สึกที่เข้มข้น

                                                    ื่
                           ื่
               สนุกสนาน เพอให้กระทบจิตใจของผู้อ่าน เพอช่วยวาดภาพ ระบาย
                                                            ่
               สี ตกแต่ง และให้เสียงที่ผู้แต่ง ต้องการจะสื่อให้ผู้อานได้ชม ได้
                                     ี
               สัมผัสอย่างชัดเจนยิ่งขึ้นอกด้วย ตัวอย่างเช่น ในฉากแรกผู้แต่งเปิด
               เรื่องด้วยการพรรณนาสภาพอากาศที่รุนแรงและแปรปรวนของพายุ

                            ื
                                  ิ
               ฝนที่ “กระพอปีกพโรธกวาดล้างต้นไม้ใหญ่น้อยหักโค่นลง
               ดิน” ประโยคนี้ใช้กริยา กระพอปีก และ พโรธ กับประธานที่ไม่มี
                                                    ิ
                                         ื
               ชีวิตช่วยแสดงถึงภาพความรุนแรงของพายุราวกับสิ่งมีชีวิตที่
               ฉุนเฉียวรุนแรงพร้อมจะทาลายล้างทุกสิ่งที่ขวางทางมัน นอกจากจะ

               เป็นการสื่อภาพที่มีชีวิต และเคลื่อนไหวในภาพความคิดของผู้อาน
                                                                    ่
               ได้แล้ว ฉากเปิดเรื่องดังกล่าวยังสามารถเป็นสัญลักษณ์ชี้น า

               บรรยากาศความวุ่นวายโดยรวมของเรื่องว่าประวัติศาสตร์
               ประชาธิปไตยของไทยได้ผ่านมรสุมสุดเกรี้ยวกราดมาแล้วเท่าใด
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62