Page 85 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 85

๗๐


               หนังสือเล่มนี้ได้สรุปความหมายของวรรณคดีไว้ ๓ ประการ ดังนี้

               (หนังสือความรู้ทั่วไปทางวรรณคดีไทย, หน้า ๔)

                              “…โดยสรุปแล้ว ในวงการศึกษาวรรณคดีปัจจุบัน

                       นี้ ให้ความหมายค าว่า วรรณคดี เป็น ๓ ประการ คือ ๑.
                       ความหมายอย่างกว้าง หมายถึงสิ่งที่เขียนขึ้น ประพนธ์ขึ้น
                                                                 ั
                       ทุกอย่าง

                                   ๒. ความหมายแคบลง โดยก าหนดว่าหมายถึง
                       หนังสือดี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก มีคุณสมบัติในด้านรูปแบบ

                       และวิธีแสดงออก เช่น หลักศิลาจารึก รามเกียรติ์ ไตรภูมิ
                       พระร่วง ฯลฯ

                                   ๓. ความหมายแคบและกระชับยิ่งขึ้น หมาย

                       เฉพะสิ่งที่เขียนขึ้นมีศลปะการแต่งจนได้รับการยกย่องว่ามี
                                        ิ
                       วรรณศิลป์ สร้างอารมณ์และจินตนาการหรือท าให้

                       ตระหนักในคุณค่าของชีวิตและธรรมชาติ ตลอดจนความ
                       เข้าใจจิตใจล าพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เช่น บทนิราศ

                       ต่างๆ บทละครของเช็คสเปียร์ และลิลิตพระลอ เป็นต้น...”

                       บทที่ ๒ ความเป็นมาของวรรณคดีไทย กล่าวถึงภูมิหลัง
               วรรณคดีสมัยสุโขทัย วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น วรรณคดี

               สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

               วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
               วรรณคดีสมัยรัชกาลที่ ๔ – ๖
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90