Page 56 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 56
ปัจจุบันหลายชุมชนในประเทศไทยต้องเผชิญกับผลกระทบจาก
ั
ี
โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ท้งท่เป็นโครงการพัฒนาของรัฐและโครงการของ
ภาคธุรกิจเอกชน เน่องจากกลไกในการปกป้องคุ้มครองสิทธิชุมชนและ
ื
ิ
ปกป้องส่งแวดล้อม อย่างเช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕ ยังมีจุดอ่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการพิจารณา
ิ
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบทางสุขภาพและส่งแวดล้อม ท่ไม่ได้เป็น
ี
�
กระบวนการนาเสนอข้อเท็จจริงของผลกระทบด้านต่างๆ ด้วยข้อมูลท่เป็น
ี
�
กลางและเป็นจริง หากกลับกลายเป็นกระบวนการนาเสนอข้อมูลซ่ง
ึ
เอื้อประโยชน์กับคนบางกลุ่มมากกว่าชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่
นานมาแล้ว ผู้คน ๖ หมู่บ้าน ในต�าบลเขาหลวง อ�าเภอวังสะพุง
จังหวัดเลย ได้ใช้ชีวิตแบบชุมชนเกษตรกรรมบริเวณโดยรอบภูทับฟ้า
ภูซ�าป่าบอน และภูเหล็ก ทว่าในปี ๒๕๔๗ บริษัทที่ได้รับสัมปทานเหมือง
แร่ทองค�าได้เริ่มสร้างเหมืองฯ ใกล้กับชุมชนทั้ง ๖ หมู่บ้าน ผลกระทบจาก
การท�าเหมืองฯ เป็นผลให้แหล่งน�้าถูกปนเปื้อนด้วยสารโลหะหนัก พืชผัก
หรือสัตว์ อาหารต่างๆ ที่ชาวบ้านได้อาศัยยังชีพกลายเป็นของมีพิษบริโภค
ไม่ได้ ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนมีเพิ่มขึ้น เมื่อแหล่งน�้าและอาหารที่มี
อยู่ตามธรรมชาติของตนเองต้องสูญสิ้นไป
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เพื่อธ�ารงสิทธิในการด�ารงชีพของพวกตนที่สืบ
ั
ต่อมายาวนานหลายช่วคน กลุ่มชาวบ้านจึงรวมตัวกันเป็น “กลุ่มฅนรักษ์
บ้านเกิด ตาบลเขาหลวง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย” กระทาการเคล่อนไหว
�
�
�
ื
ั
�
คัดค้านโครงการสัมปทานเหมืองแร่ทองคา การต่อสู้น้นยาวนานกว่า ๑๒
ปี กลุ่มชาวบ้านไม่เว้นแม้กระทั่งเด็กอายุต�่ากว่า ๑๕ ปี ต้องตกเป็นจ�าเลย
ของคดีทั้งที่ถูกฟ้องจากรัฐและบริษัทที่รับสัมปทานไม่น้อยกว่า ๒๒ คดี มี
้
่
้
่
การเรยกรองคาเสยหายจากชาวบานไมนอยกวา ๓๒๐ ลานบาท รวมไปถง ึ
ี
่
้
ี
้
56 l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕