Page 57 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 57
ั
การข่มขู่คุกคามด้วยความรุนแรงท้งทางร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะอย่าง
ิ
ี
�
�
ย่งเหตุการณ์ในคาคืนวันท่ ๑๕ พฤษภาคม ปี ๒๕๕๗ “กาแพงใจ” ท ่ ี
่
ชาวบ้านร่วมกันสร้างเพ่อเป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้ ถูกกลุ่มชายฉกรรจ์
ื
�
ื
กว่า ๒๐๐ คน บุกเข้าทาลายเพ่อเปิดทางให้มีการขนแร่จากเหมือง
ชาวบ้านถูกจับมัดมือมัดเท้าและท�าร้ายร่างกายอย่างรุนแรง มีการข่มขู่ฆ่า
�
แต่กระน้นก็ไม่ได้ทาให้หัวใจของการต่อสู้ถูกส่นคลอน พวกเขายังคงยืนหยัด
ั
ั
ต่อสู้จนถึงปัจจุบัน
ี
ี
ิ
แท้ท่จริงส่งท่ “กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด อ. วังสะพุง จ. เลย ” ต้องการ
ั
ื
เป็นเพียงเร่องง่ายๆ ไม่ซับซ้อน น่นคือ สิทธิในการปกป้องชุมชนของตัวเอง
ั
เสรีภาพข้นพ้นฐานในการแสดงความคิดเห็น การชุมนุม การมีส่วนร่วม
ื
การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา รวมไปถึงการ
ี
ช่วยเหลือเยียวยาปัญหาต่างๆ ท่เป็นผลกระทบต่อชาวบ้านไม่ว่าจะเป็น
เรื่องสุขภาพหรือสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมไป
�
ในท่สุด “กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด” จึงทาการยืนยันสิทธิเหนือวิถีชีวิต
ี
�
ี
ของตนเองภายใต้อานาจแห่งกฎหมาย โดยเป็นโจทก์ฟ้องบริษัทท่ได้
สัมปทานเหมืองแร่ ให้แก้ไขฟื้นฟูความเสียหายท่เกิดจากการทาเหมืองแร่ฯ
ี
�
ี
และศาลยุติธรรมมีคาส่งให้บริษัทท่ได้รับสัมปทานเหมืองแร่ฯ ต้องทาการ
�
�
ั
ฟื้นฟูส่งแวดล้อมท้งในและนอกเขตเหมืองฯ รวมไปถึงการเยียวยาด้วยการ
ั
ิ
ชดเชยค่าเสียหายจากผลกระทบของเหมืองฯ ให้ “กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด”
จ�านวน ๑๔๙ ครอบครัว
“กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย” จึงเป็น
�
ื
สัญลักษณ์ของการต่อสู้ ด้วยการยืนหยัดต่อสู้บนจุดยืนแห่งความเช่อม่นใน
ั
สิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยเลือก
กระทาการอย่างกล้าหาญ เป็นดังบทสะท้อนความกล้าหาญและความ
�
คำ�ให้ก�รช�วกรุงสย�มใหม่ l 57