Page 16 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 16

ี
        ทำาให้เกิดความเครียด อารมณ์เสียและไปลงท่ลูก ผมเคยเดินผ่านสลัมไปทำางานท ี ่
                              ิ
        ศิริราชทุกวัน เคยเห็นลูกว่งตามแม่จะไปตลาด แม่หันมากระทืบ การตามแม่ไปตลาด
                                                  ี
                                                                       ึ
        เป็นความสุขของเด็ก แต่ก็เป็นไปไม่ได้เสียแล้วยามท่แม่อารมณ์เสีย อีกรายหน่งเด็กเล็ก
                               ำ
                                                                  ื
          ่
                                  ั
          ั
                                                                     ำ
                                                                             ำ
        นงร้องไห้บนแคร่ใต้ต้นไม้กาลงถูกแม่ตบตีอยู่ ถ้าความจนความเหล่อมลาครอบงา
                                                                     ้
        สังคมไทยอยู่ โศกนาฏกรรมต่อเด็กจะมากมายมโหฬารเพียงใด





















                                                       ี
                    ี
              สังคมท่มุ่งแต่ประสิทธิผลทางจีดีพี แต่ไม่ได้เน้นท่สุขภาวะของประชากรเป็น
                       ี
                                       ี
                                       ่
                           ็
                                                                           ุ
                                                                 ื
                                                                    ้
        เหตุแห่งความเครยดเตมโลก สังคมทขาดความเป็นธรรมมีความเหล่อมลาอย่างสดๆ
                                                                    ำ
        น่าจะมีผลต่อพัฒนาการของเด็กเล็กอย่างสำาคัญและมีผลไปมาต่อกัน กล่าวคือความ
                                                   ี
        เหล่อมลำาก่อให้เกิดวัยเด็กท่ปริแยกแตกร้าว วัยเด็กท่ปริแยกแตกร้าวทำาให้เกิดปัญหา
               ้
                               ี
           ื
        สุขภาพและสังคม ปัญหาสุขภาพและสังคมนำาไปสู่ความเหลื่อมลำา กลายเป็นวงจรแห่ง
                                                            ้
                    ้
        ความเหลื่อมลาและวัยเด็กที่ปริแยกแตกร้าวอันหมุนวนไม่มีทางออก ดังนั้นจึงมีทฤษฎี
                    ำ
        เศรษฐศาสตร์ว่าการลงทุนในเร่องเด็กปฐมวัยเป็นเคร่องมือลดความเหล่อมลา
                                                                     ื
                                                                         ำ
                                   ื
                                                                         ้
                                                      ื
              ไม่เป็นการเหลือวิสัยท่นักเศรษฐศาสตร์จะคำานวณว่า วัยเด็กท่ปริแยกแตกร้าว
                                ี
                                                                 ี
        ก่อความเสียหายให้แก่ประเทศเป็นมูลค่าปีละเท่าไหร่ และการลงทุนเพ่อเด็กปฐมวัย
                                                                   ื
                                                             ี
                                                        ี
                       ื
        น้อยนิดเพียงใดเม่อเทียบกับความเสียหาย คิดเป็นกำาไรก่ร้อยก่พันเปอร์เซ็นต์ ไม่ม  ี
                              ี
                                         ี
        การลงทุนทางธุรกิจใดๆ ท่มีกำาไรขนาดน้ เท่ากับการลงทุนพัฒนาการเด็กปฐมวัย
        14
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21