Page 20 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 20

ั
                                                       ั
        มนุษยชาติท้งหมด ตลอดจนสรรพสัตว์ และธรรมชาติท้งปวง ความเครียดกระทบ
        โครงสร้างของสมองของเด็กในครรภ์และเด็กเล็กตลอดจนอวัยวะต่างๆ ทำาให้เกิดโรค
          ั
        ท้งทางกายและทางใจ และสภาวะไร้ความสุขในผู้ใหญ่อันมีผลวนกลับมาท่เด็ก วนเวียน
                                                                    ี
        ไปทุกภพชาติ มนุษย์ไม่สามารถหลุดจากวัฏฏะของวงจรชีวิตแห่งความเครียดและ
                                                           ี
                     ี
        ทุกขภาวะเช่นน้ได้ ถ้าหลักคิดและทิศทางการพัฒนายังไม่เปล่ยน
              ๒. หลักคิดการพัฒนา ปัจจุบันอาจเรียกว่าลัทธิเติบโตทางเศรษฐกิจ ซ่งไม่สมเหต ุ
                                                                     ึ
                                                                         ื
        สมผลเพราะเป็นการแยกส่วน ไม่ได้คิดถึงสุขภาวะของคนท้งมวลอย่างย่งยืน เม่อแยก
                                                         ั
                                                                   ั
        ส่วนก็นำาไปสู่การเสียดุลยภาพและทุกขภาวะ หลักคิดใหม่ในการพัฒนาต้องอยู่บนฐาน
                                                              ั
                                            ื
        ความจริงตามธรรมชาติท่ว่า สรรพส่งล้วนเช่อมโยงไปสู่ความเป็นท้งหมดหรือองค์รวม
                                      ิ
                             ี
                                 ื
        หน่งเดียวกัน เม่อทุกอย่างเช่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างถูกต้องก็จะเกิดบูรณภาพและ
                      ื
           ึ
                                                                         ั
        ดุลยภาพ บูรณภาพและดุลยภาพคือความสงบปรกติสุข หรือสุขภาวะของคนท้งมวล
                  ิ
                                                               ื
        และสรรพส่ง หลักคิดน้คือการพัฒนาอย่างบูรณาการและสมดุลเพ่อสุขภาวะของคน
                            ี
          ั
        ท้งมวลและสรรพธรรมชาติ ความสมดุลจะลดความเครียดในสังคม เปิดโอกาสให้เด็ก
        ในครรภ์มารดาและเด็กปฐมวัยได้มีพัฒนาการตามปรกติ สามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท ี ่
                                         ี
        สุขภาพดีท้งกายใจ สามารถสร้างสังคมท่มีคุณภาพ หลุดพ้นจากการหมุนเวียนแห่งภพ
                 ั
                                    ี
        ชาติท่เต็มไปด้วยทุกขภาวะ ตามท่กล่าวถึงในข้อ ๑
             ี
              หลักคิดและทิศทางการพัฒนาใหม่น้ ซ่งอาจเรียกว่าการพัฒนาอย่างสมดุลเพ่อ
                                                                            ื
                                             ึ
                                            ี
                           ั
        ประโยชน์สุขของคนท้งมวล ต้องการความเข้าใจอย่างกว้างขวางและพัฒนาราย
        ละเอียดสู่การปฏิบัต ิ
           ๓. เรื่องเด็กเล็กเป็นสะพานเชื่อมไปสู่การพัฒนาทั้งหมด ขอให้ทุกท่านใส่ใจเรื่อง
        พัฒนาการของเด็กเล็ก และทำาความเข้าใจเร่องวัยเด็กท่ปริแยกแตกร้าวว่าคืออะไร
                                                       ี
                                              ื
                                                        ี
        และนำาไปสู่ความเสียหายใหญ่โตมหาศาลเพียงใด ความรู้น้จะนำาท่านเข้าไปสู่ความคิด
                                ื
        ใหม่อันเป็นความคิดใหญ่ เพ่อก้าวล่วงทุกขภาวะของตัวท่านเองและสังคม
              ๔. กลุ่มและเครือข่ายทางวิชาการควรลงมือทำางานอย่างจริงจัง ในการค้นคว้า
                        ั
        หาความรู้ให้หมดท้งโลก เก่ยวกับวัยเด็กอันปริแยกแตกร้าวและนำามาเผยแพร่อย่าง
                               ี
        กว้างขวางให้รู้กันอย่างท่วถึงท้งชาติ โดยทุกช่องทางการส่อสาร รวมท้งโดยทางส่อดิจิทัล
                                                               ั
                                ั
                            ั
                                                                        ื
                                                     ื
                                 ี
                         ั
              ๕. ผู้ปฏิบัติท้งหลายเก่ยวกับคุณภาพเด็ก เยาวชน และครอบครัว อาทิเช่น
        ครอบครัว ผู้ดูแลเด็ก ระบบสุขภาพ ระบบการศึกษา องค์กรชุมชนท้องถ่น ควรแสวงหา
                                                                  ิ
                ี
        ความรู้เก่ยวกับพัฒนาการของเด็กมาสนับสนุนการปฏิบัติให้ได้ท่วถึงและมีคุณภาพด ี
                                                             ั
        18
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25