Page 25 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 25
เราจึงต้องทำางานร่วมกับนักวิชาการมากขึ้น เราเลือกมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ตั้ง
ู
ี
ู
์
อย่บนถนนพุทธมณฑลสาย ๔ และอย่ใกล้ๆ กับเรา มคณะดุริยางคศิลปนาดนตรีมา
ำ
ี
ี
ช่วยการพัฒนาเด็ก โดย “ครูฟาง” และทีมงาน มโรงพยาบาลจิตเวช มาดูเด็กท่อาจ
์
ำ
ต้องใช้ยาและความชานาญของจิตแพทย์มาแก้ไข และมศนยการแพทยกาญจนาภเษก
ี
ิ
ู
์
ั
ำ
ี
ี
ื
ดูแลสุขภาพท่วไป มสถาบันแห่งชาติเพ่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ท่นาทีมโดยคุณหมอ
ู
ำ
อดิศักด์กับคุณหมอแก้วตา ผ้มีความชานาญการพัฒนาเด็กในวัยต่างๆ ขณะเดียวกัน
ิ
ึ
เราก็ต้องอ่านหนังสือเก่ยวกับงานวิจัยการพัฒนาเด็กและมนุษย์มากข้นไปพร้อมกันด้วย
ี
ื
ต้องถือว่าการทางานเร่องเด็กในยุคสมัยใหม่น้เป็นงานหนักมาก เราจึงอยากทาให ้
ี
ำ
ำ
โรงเรียนหม่บ้านเด็ก โรงเรียนอนุบาล และบ้านทานตะวัน เป็นห้องทดลองการเรียนร ้ ู
ู
ำ
ของเด็ก เพ่อบอกกับสังคมว่า “เราจะจัดโรงเรียนแบบเดิม” โดยไม่จาแนกแยกแยะ
ื
เด็ก และไม่จัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับเด็กแต่ละประเภท ตามแบบเก่า ไม่ได้
อีกแล้ว
ส่วนสภาพแวดล้อมในโรงเรียนทั้งที่พุทธมณฑลสาย ๔ และที่ริมแม่น้ำาแควใหญ่
ื
เราจงใจจัดสภาพแวดล้อมเพ่อการพัฒนาเด็ก โดยให้ฉีกออกไปจากสังคมภายนอกและ
โรงเรียนทั่วๆ ไป
ิ
ี
เร่มจากการจัดห้องเรียนแบบต่างๆ ท่เหมาะกับเด็ก จัดส่งแวดล้อมท่เป็น
ิ
ี
ำ
้
ธรรมชาติ มีต้นไม้ มีแม่นา มีภูเขา มีการปลูกผักท่ไม่ใช้สารเคมีทุกชนิด มีนมและอาหาร
ี
ที่ช่วยเด็กที่ขาดสารอาหารก่อนมาอยู่กับเรา เพื่อเสริมสร้างส่วนที่ขาดไป
ส่วนความรู้ในเรื่องเด็กนั้น เราพัฒนาขึ้นมากว่า ๔ ทศวรรษ เรารู้เรื่องการเชื่อม
โยงสมองกับการเรียนรู้มากขึ้น เรารู้เรื่องยีนกับดีเอ็นเอมากขึ้น เรารู้เรื่องสิ่งแวดล้อมที่
้
ั
่
ี
้
ึ
็
มผลต่อการพฒนาเดกดขน และเรากาลงเรียนรเรองความฉลาดนนสามารถสงต่อกนได ้
ี
ั
่
ื
ั
ู
ำ
ั
้
หรือไม่
23