Page 101 - แหล่งเรียนรู้คู่ชุมชน
P. 101

แหล่งเรียนรู้ อ้าเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์

































                                                                                                                                                                                                     พิพิธภัณฑ์เมืองโบราณดงแม่นางเมือง























































































































                                                                                         ดงแม่นางเมือง”เคยเป็นบ้านเมืองมาแต่ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑ ๘   มาแล้ว อีกทั้งพื้นที่ลุ่มน้้าเจ้าพระยา







                                                                           ตอนบนมีรัฐอิสระ รับนับถือพุทธศาสนาเถรวาท ดังเห็นได้จากการเรียกนามพระมหากษัตริย์ว่า ศรีธรรมาโศก







                                                                           ราช อันเป็นประเพณีนิยมในวัฒนธรรมพุทธศาสนาแบบเถรวาท แตกต่างจากที่เคยปลูกฝังตามประวัติศาสตร์ท







                                                                           มาแต่เดิมว่า ดินแดนสยามประเทศก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๘ นั้นตกอยู่ใต้การปกครองของอาณาจักรขอม ทั้ง







                                                                           เมืองธานยปุระน่าจะสัมพันธ์กับเมืองเจนลีฟูที่ปรากฏในจดหมายเหตุจีนในพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ รวมถึงมีการ







                                                                           ติดต่อสัมพันธ์กับเมืองโบราณหลายแห่งที่พบในเขตนครสวรรค์ เช่น เมืองบน (เขาโคกไม้เดน) เมืองล่าง (หาง







                                                                           น้้าสาคร) เมืองท่าตะโก เมืองไพศาลี ฯลฯ ซึ่งเมืองเหล่านี้เกาะกลุ่มกันในพื้นที่ลุ่มน้้าเจ้าพระยาและลุ่มน้้าน่าน                                                                                                                                                                                                                                                                 สารคดีดงแม่นางเมือง







                                                                           รวมถึงลุ่มน้้าเกรียงไกรที่เป็นสาขาหนึ่งของแม่น้้าน่านด้วยเมืองธานยปุระมีพัฒนาการสืบเนื่องเป็นเวลานานกว่า







                                                                           ๒,๐๐๐ ปี ก่อนร้างราไปในต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ จนเกิดการตั้งชุมชนใหม่รอบดงอีกครั้งเมื่อไม่เกิน ๑๐๐ ปีลง







                                                                           มานี้ โดยเป็นกลุ่มที่อพยพมาจากอุทัยธานีและชาวลาวอีสาน กระทั่งปี พ.ศ.   ๒๕๐๖ คณะเจ้าหน้าที่กรม







                                                                           ศิลปากร น้าโดยอาจารย์มานิต วัลลิโภดม ได้มาส้ารวจขุดค้นที่ดงแม่นางเมือง พบหลักฐานโบราณสถานและ







                                                                           โบราณวัตถุต่าง ๆ ที่ชี้ให้เห็นถึงความส้าคัญ จึงมีการท้าผังเมืองโบราณไว้เป็นเบื้องต้น แต่ยังขาดการขุดส้ารวจ







                                                                           และบูรณะอย่างจริงจัง ท้าให้โบราณสถานหลายแห่งถูกปกคลุมด้วยดงไม้ในเวลาต่อมา และมีไม่น้อยที่ถูก                                                                                                                                                                                                                                                                                   นิทานดงแม่นางเมือง







                                                                           ลักลอบขุดท้าลายเพื่อหาโบราณวัตถุ                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                  Inkiprint.com




































































































































                                                                                     นายเกียรติศักดิ์ อิสสระ  นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รหัสนักศึกษา 62121278062 รุ่นที่ 21 ห้อง 2
   96   97   98   99   100   101   102   103