Page 20 - สัมมนา 2_2563_Neat
P. 20
14
บทน า
มันส าปะหลัง (Cassava) มีชื่อวิทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz เป็นพช
ื
อาหารชนิดหนึ่งที่ส าคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง (ส านักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร, 2563) มันส าปะหลังเป็นพชที่ทนแล้งได้ประโยชน์และการน าไปใช้ประกอบอาหารคาว
ื
หวาน โดยน าส่วนของรากสะสมอาหารที่มีการสะสมของคาร์โบไฮเดรตไปใช้ประกอบอาหาร การ
ส่งออกผลผลิตการแปรรูปหัวมันส าปะหลังเพื่อให้เก็บรักษาได้เป็นเวลานาน ถูกส่งออกในรูปแบบมัน
ส าปะหลังอัดเม็ด มันเส้น สาคู แป้งมันส าปะหลัง พื้นที่เพาะปลูกมันส าปะหลังในประเทศไทยมีเนื้อที่
8,823,412 ต่อไร่ ผลผลิต 31,079,966 ตัน การส่งออกมันส าปะหลังในปัจจุบัน 73,891,479,565
บาท (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) ปัจจุบันเกษตรกรสนใจปลูกมันส าปะหลังกันอย่าง
แพร่หลาย แต่ประสบปัญหาเรื่องแมลงศัตรูพืชที่ส าคัญคือ เพลี้ยแป้งมันส าหลัง ที่ท าความเสียหายต่อ
มันส าปะหลัง โดยการดูดกินน้ าเลี้ยงตามส่วนต่างๆ เช่น ใบ ยอด และตา ในส่วนของต้นที่ยังอ่อนอยู่
ุ่
ั
ยอดที่ถูกท าลายจะหยิกเป็นพม ล าต้นจะบิดเบี้ยวมีช่วงข้อถี่ ท าให้มีผลต่อคุณภาพท่อนพนธุ์ หัวมี
ขนาดเล็ก เปอร์เซ็นต์แป้งต่ า หากการระบาดรุนแรงยอดจะแห้งตาย ถ้ามีระบาดในช่วงที่มัน
ส าปะหลังอายุน้อยอาจท าให้ต้นมันส าปะหลังตายหรือไม่สามารถสร้างหัวได้ เพลี้ยแป้งจะระบาด
รุนแรงในฤดูแล้งมากกว่าในฤดูฝน โดยเฉพาะฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน แปลงที่มีการระบาดอย่าง
รุนแรงความเสียหายเกิดขึ้นเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ จะเห็นได้ว่าเพลี้ยแป้งมันส าปะหลัง มีผลต่อการ
เจริญเติบโตมันส าปะหลังอย่างมาก และเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้วิธีก าจัดด้วยสารเคมีท าให้ส่งผลต่อ
ระบบนิเวศรวมถึงสุขภาพของเกษตรด้วย จึงได้มีการศึกษาเพื่อหาวิธีในการควบคุมและป้องกันก าจัด
ื่
เพลี้ยแป้งมันส าปะหลังด้วยวิธีที่ปลอดภัยต่อเกษตรกร และธรรมชาติเพอเป็นทางเลือก และลด
ต้นทุนในการผลิตมันส าปะหลัง ดังนั้นสัมมนาครั้งนี้จึงได้ท าการอภิปรายเกี่ยวกับการควบคุมเพลี้ยมัน
ส าปะหลังโดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การใช้แมลงช้างปีกใส การใช้เชื้อราปฏิปักษ์ และการใช้สารสกัดไค
ติเนสและสารสกัดโปรติเอสที่ได้จากเชื้อแอคติโนมัยซีส