Page 56 - สัมมนา 2_2563_Neat
P. 56
50
ตารางที่ 3 องค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดและสีเมล็ดของข้าวโพดหวาน 9 สายพันธุ์
Lines Original cross Total sugar Non reducing sugar Anthocyanin Kernel color
(mg/g) (mg/g) (mg/100g)
Ag-PS1 YSC1 x PWx 353 267 345 Red
Ag-PS2 YSC2 x PWx 464 325 313 Red
Ag-PS3 YSC3 x PWx 430 339 264 Red
Ag-PS4 YSC4 x PWx 241 178 399 Red
Ag-PS5 YSC5 x PWx 223 173 390 Red
Ag-PS6 YSC6 x PWx 257 201 416 Red
Ag-PS7 YSC7 x PWx 311 259 419 Red
Ag-PS8 YSC8 x PWx 207 155 429 Red
Ag-PS9 YSC9 x PWx 307 245 402 Purple
F-test - ** ** ** -
- 36.17 37.61 64.41 -
LSD (0.05)
LSD (0.01) - 50.74 52.27 90.3 -
CV (%) - 5.26 8.89 10.42 -
- = not determined; * and ** significant at the 0.05 and 0.01 levels, respectivel
ที่มา: ชฎามาศ จิตต์เลขา และคณะ (2019)
สรุป
การศึกษาการเพมปริมาณแอนโทไซยานินในข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วง โดยประเมินปริมาณ
ิ่
แอนโทไซยานินใน 5 ชิ้นส่วนของข้าวโพดข้าวเหนียว พบว่าข้าวโพดพันธุ์ข้าวเหนียวข้าวก่ าเป็นพันธุ์ที่
มีปริมาณแอนโทไซยานินทั้งหมดสูงที่สุด โดยไหมเป็นชิ้นส่วนที่มีปริมาณแอนโทไซยานินทั้งหมด
สูงสุด และปริมาณแอนโทไซยานินมากที่สุดที่ระยะรับประทานฝักแห้ง (40 วันหลังผสมเกสร ) และ
ั
อนุพนธ์ของแอนโทไซยานิน พบมากสุดที่ ส่วนไหมและเมล็ด ซึ่งคือกลุ่ม cyanidin-3-glucoside
ร อ ง ล ง ม า คื อ cyanidin-3 -(6”-malonylglucoside) แ ล ะ cyanidin-3 -( 3”6 ”-
dimalonylglucoside ) ตามล าดับ
ั
ั
นอกจากนี้การคัดเลือกสายพนธ์ที่ส่งผลต่อปริมาณแอนโทไซยานิโดยผสมพนธุ์แบบ
ั
ั
topcross โดยใช้สายพนธุ์ Ag-PS1 ถึง Ag-PS8 เป็นพนธุ์แม่ และใช้สายพนธุ์ Ag-PS9 เป็นสายพนธุ์
ั
ั
พ่อ พบว่าการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานสีม่วงได้คู่ผสม Ag-PS8 (YSC × PWx) มีปริมาณแอนโทไซ
ยานิน 429 mg/100g ต่อน้ าหนักแห้ง ซึ่งมีศักยภาพในการผลิตเพื่อเป็นแหล่งสารแอนโทไซยานินได้
เช่นเดียวกันกับข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วง