Page 41 - Research Innovation 2566
P. 41

PSB SAI-YAI: นวัตกรรมแบคทีเรยสังเคราะห์แสงเพอการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอย่างยั่งยืน
                                                                                                                                          ื่
                                                                                                                            ี
                   นวัตกรรมเซลล์ต้นแบบโฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติกส ำหรับระบบไฮโดรโปนิกส์                    PSB SAI-YAI: Innovative Applications of Photosynthetic Bacteria
                        Innovative Photoelectrocatalytic Prototype Cell for                                            in Sustainable Aquaculture
                                      Hydroponics System












                                                                                                                                                             ึ
                                                                                                           นวัตกรรมชิ้นนี้เป็นการพัฒนาแบคทีเรียสังเคราะห์แสง “PSB SAI-YAI” ซ่งคัดแยก
                                                                                                   และจัดกลุ่มแบคทีเรียสังเคราะห์แสงที่มีคุณสมบัติในการจัดการคุณภาพน้ าในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ า โดยเฉพาะ
                                                                                                   ช่วยลดปริมาณแอมโมเนียและไนไตรท์ในน้ าและเลน และพัฒนากระบวนการเลี้ยงขยายปริมาณในระดับ
                                                                                                   ฟาร์มด้วยการใช้อาหารเลี้ยงเชื้อต้นทุนต่ า วิธีการไม่ยุ่งยาก เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ าสามารถใช้หัวเชื้อ
                                                                                                                   ้
                                                                                                   PSB SAI-YAI ไปขยายเลยงและใช้ประโยชน์ในฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง
                                                                                                                   ี
          40          นวัตกรรมเซลล์เคมีไฟฟ้าขั้นสูง ด้วยหลักการของเซลล์โฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก      เนื่องจากต้นทุนการผลตอยู่ที่ 1-2 บาท/ลิตร ผลผลิตแบคทีเรียมีความเสถียร ผันแปรน้อย โดยผลการใช้
                                                                                                                 ิ
               (Photoelectrocatalytic cell, PEC cell) ส้าหรับก้าจัดเชื้อโรคในระบบน้้าของผักไฮโดรโปนิกส์มีขนาด   งานพบว่าปรมาณแอมโมเนียและไนไตรท์ในบอเล้ยงสตว์น าลดลง และปรมาณเช้อแบคทีเรยก่อโรค
                                                                                                            ิ
                                                                                                                                                   ิ
                                                                                                                                                       ื
                                                                                                                                                              ี
                                                                                                                                         ้
                                                                                                                                 ่
                                                                                                                                   ี
                                                                                                                                      ั
                                                                              ั
                                        ิ
               กว้าง x ยาว x สูง = 28x75x32 เซนตเมตร หนกประมาณ 50 กิโลกรม สามารถปองกันและก้าจด     Vibrio spp. ลดน้อยลงจนอยู่ในระดับควบคุมได้ตลอดระยะเวลาการเลี้ยง อัตราการรอดตายของสัตว์น้ า
                                              ั
                                                                    ้
                                                            ั
                ื้
               เชอจุลินทรีย์ที่ท้าให้เกิดโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพและยังท้าให้เกิดการแตกตัวของปุ๋ยในสารละลายน้้า  สูงขึ้น อีกทั้งเกษตรกรและคนในชุมชนสามารถเลยงและใช้ PSB SAI-YAI บ าบัดน้ าในคลองน้ าสาธารณะ
                                                                                                                                  ี้
               ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชได้เป็นอย่างดี                                          ชุมชน ต.เกาะเพชร อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช ท าให้สิ่งแวดล้อมโดยรวมดีขึ้น ลดอัตราการน าน้ า
               นักประดิษฐ์   นางสาวกัญญารัตน์ หมัด                                                 ปนเปื้อนเข้าสู่บ่อเลี้ยงสัตว์น้ าและลดการสูญเสียระหว่างการเลี้ยง
               อำจำรย์ที่ปรึกษำ   รศ.ดร.ฉัตรชัย พลเชี่ยว                                           นักประดิษฐ์    MISS AGNESIA FRISCA DAMAYANTI
                                                                                                                  นางสาวบุศรากรณ์ ราชพล
               สถำนที่ติดต่อ   สาขาวิชาเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                             มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี                                    อาจารย์ที่ปรึกษา   ดร.กิตติชนม์ อุเทนะพันธุ์
                             39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต้าบลคลองหก อ้าเภอคลองหลวง                               ดร.นิอร จิรพงศธรกุล
                             จังหวัดปทุมธานี 12120                                                 สถานที่ติดต่อ   สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
                             โทรศัพท์ 0 2549 4168                                                                 109 หมู่ที่ 2 ต าบลถ้ าใหญ่ อ าเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80110
                             E-mail: chatchai@rmutt.ac.th
                                                                                                                  โทรศัพท์ 0 7532 9936
                                                                                                                  E-mail: e_aquatic1@hotmail.com



               42                                                   ส ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)         ส ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)                                                      43

                                     ิ
                    สำนัักงานัการวิิจััยแห่่งชาติ (วช.)
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46