Page 5 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 5
ภาคเหนือของประเทศไทยเปนแหลงตนน้้าทสาคญของประเทศ
้
ั
ี่
็
่
้
ู่
ประกอบด้วยภูเขาสลับซับซ้อนจ้านวนมาก ในพื้นที่เหล่านี้มีชาวบ้านที่อาศัยอย และ
ี่
ิ
ส่วนใหญ่ยังใช้ชีวิตแบบดั้งเดิม น้้าทมีจากพื้นที่ต้นน้้ามีความส้าคัญลงมาหล่อเลี้ยงชีวต
ของประชาชนจ้านวนมากที่อยู่ทางด้านท้ายน้้า การเป็นอยู่ของประชาชนในบริเวณนี้
ที่เป็นพื้นที่ห่างไกลการคมนาคมยังยากอยู่ การซื้อขายอาหารโปรตีนยังเป็นเรื่องยาก
ั่
้
และราคาค่อนข้างสูง ความขาดแคลนอาหารโปรตีนยังพบเห็นไดโดยทวไป และตา
่้
กว่าเกณฑ์มาตรฐานของประเทศไทย อันเนื่องมาจากต้องออกไปหาอาหารประเภท
โปรตีนจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ และต้องใช้เวลาค่อนข้างยาวประมาณค่อนวันเพอ
ื่
ี
อาหาร 1 มื้อ ส้าหรับครอบครัว เวลาที่เสียไปแทนที่จะสามารถน้ามาประกอบอาชพ
ี
เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นกลับหายไปหมด ในส่วนของการผลิตอาหารโปรตนจากหมูท ี่
เลี้ยงเพื่อเป็นพิธีกรรม เช่นงานแต่งงาน งานปีใหม่ เป็นต้น ส่วนไก่ที่เลี้ยงไว้ไม่มากนัก
ในขณะทปลาเองยังไม่มีการเลี้ยง หรือมีน้อยมาก ซึ่งยังมีข้อจ้ากัดในเรื่องของความร ู้
ี่
ุ์
่
ุ
ั
ู่
ั
อาจกล่าวได้ว่าเรื่องการเลี้ยงและการขยายพนธปลายงอยในยคการเกษตรกอน
์
ประวัติศาสตร พื้นที่ที่ลาดชันมาก มีปัญหาเรื่องของน้้าน้อยในช่วงฤดูแล้ง การท้าการ
เลี้ยงปลาจึงยังไม่ค่อยแพร่หลายนัก แต่ยังมีผลประกอบการน้อยมาก
ดังนั้นจึงยังเป็นส่วนที่มีความส้าคัญในการเรมตนเพอการเลยงปลาแบบ
ี้
ื่
้
ิ่
ู้
้
ยั่งยืน ด้วยการสอนและเรียนรร่วมกัน เพื่อให้สามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได การทมี
ี่
ื่
ความสามารถในการผลิตลูกปลาได้ด้วยตนเอง การอนุบาลด้วยตนเอง การเลยงเพอ
ี้
เป็นปลาเนื้อ หรือเลี้ยงเพื่อเป็นการเป็นปลาพ่อแม่พันธุ์ นอกจากนี้ยงสามารถผลต
ิ
ั
็
้
อาหารได้ด้วยตัวเอง หรือจากในชุมชน ดวยสิ่งของเหลือใช้จากการเกษตร เปนการ
่
เลี้ยงเพื่อสุขภาพเป็นอาหารอินทรีย์และยังเป็นการเก็บกวาดขยะให้เป็นสิ่งมีคา ตาม
แนวพระราชด้าริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท 9 น ใ
ี่
็
่
ั
อนาคตการสร้างความสามารถในการเลี้ยงปลานั้นจะเปนสวนหนึ่งของการพฒนา
สังคม
ั
โดยการเริ่มต้นจากการมีอาหารที่เพียงพอในครัวเรือน และประหยดเงินใน
การน้าไปเพื่อซื้ออาหารจึงมีเงินเหลือเก็บที่จะน้าไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ เมื่อไม่ต้อง
1 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง