Page 53 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 53

ี่
            ปริมาณโปรตีนสูงจึงเลี้ยงปลาได้ โดยทปลวกและแมลงทุกชนิดสามารถใช้เป็นอาหาร
            ปลาได้เป็นอย่างดี แต่ต้องออกไปหามาเป็นประจ้า ดังนั้นการเลี้ยงปลวกจึงเป็นวิธีการ
            หนึ่งในการลดเวลา ซึ่งในการสืบพันธุ์ของแมลงเม่าเมื่อถึงฤดูกาลที่เหมาะสมแมลงเม่า
                                    ิ่
            จะบินออกจากรัง ภูมิประเทศ สงแวดล้อมและเผ่าพันธุ์ จะท้าให้แมลงเม่าออกจากรก
                                                                         ั
            ต่างวาระกัน ในเขตร้อนแมลงเม่าจะออกจากรังช่วงเวลาหลังฤดูฝน จะบินเขาอาคาร
                                                                    ้
                                                               ้
                                                                ั
            เพื่อรับความอบอุ่นจากแสงไฟ หรือแสงอาทิตย และท้าความร้าคาญใหกบเรา แมลง
                                              ์
            เม่าแต่ละคู่เมื่อผสมพันธุ์แล้วจะเลือกสถานที่สร้างรังใหม่ และภายใน 2-3 วันจะเริ่มวง
                                                                       ุ
            ไข่ครั้งแรก ๆ จะมีไข่ไม่กี่ฟองแต่ต่อไปจะเพิ่มจ้านวนไข่มากขึ้นเรื่อย ๆ ตลอดอายการ
                                         ั
            เจริญเติบโต ของมันไข่จะฟักออกเปนตวออนภายใน 30-50 วน และตวออนจะ
                                      ็
                                           ่
                                                                     ่
                                                                   ั
                                                            ั
            เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่วนมากจะเป็นปลวกที่อยู่ในวรรณะ ปลวกทหาร และ
                             ู่
            ปลวกงาน แมลงเม่า คแรกที่สร้างรังจะเจริญเติบโตเป็นราชาปลวก และ ราชินีปลวก มี
            อายุยืนยาว และมีจ้านวนไข่มากกว่า 30,000 ฟองต่อวัน จ้านวนประชากรของปลวก
            ในอาณาจักรหนึ่ง ๆ มีมาก หรือน้อยขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ และแหล่งอาหาร ปลวกแต ่
            ละชนิดจะมีอุปนิสัยในการกินและความเป็นอยู่ต่าง ๆ กัน มีไม่น้อยกว่า 2,000 ชนิด
            ส้าหรับในประเทศไทยมีปลวกอยู่ 27 สกุล 74 ชนิด
                                                                    ื
                    ปลวกที่ท้ารังด้วยเศษไม้หรือเยื่อไม้ เป็นปลวกที่สร้างรังตามกิ่งไม้หรอโพรง
                                                               ั
                                                            ิ
                                                          ั
                                                                     ู
                                                                        ่
            ไม้ จะสร้างรังโดยการน้าเศษใบไม้เศษไม้ทยอยแลวมาผสมกบดน รงจะมีรปราง
                                                 ้
                                             ่
                                           ี่
                                                                 ้
            ค่อนข้างกลมคล้ายรังของต่อ แตน เพราะปลวกต้องหาอาหารจึงเกิดการทาลาย และ
            ต้องการความชื้น
                    อาหาร อาหารของปลวกส่วนมากคือ เนื้อไม้ หรือสารที่มีเซลลโลส เศษไม้
                                                                ู
            จะถูกย่อยโดยเชื้อ โปรโตซัว ซึ่งมีอยู่ในตัวของมัน
                    ความชื้น ปลวกและแมลง ที่ต้องอาศัยความชื้น เพื่อให้เกิดน้้าในล้าตัวตลอด
            เวลาปลวกไม้แห้ง จะปิดทาง เข้าออกของรังอย่างมิดชิดใน ขณะที่อากาศภายนอกมี
            ความชื้นต่้า ปลวกใต้ดินจะปรับ อากาศ ในรังหรือทางเดินให้เหมาะสม โดยท้ารังในดน
                                                                         ิ
                                                                        ิ
                                                                         ี
            ที่มีความชื้น และมันจะเดินกลับเข้ารัง วันละหลาย ๆ เที่ยว ในพื้นที่ชื้น และนี่คือวธท ี่
            ปลวก น้าความชื้นเข้าสู่รังได  ้
                     วิธีการเลี้ยงปลวก
                    - ขุดหลุมกว้าง 1 x 1.5 x 0.25 ม.
                                      49                        การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58