Page 57 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 57

การป้องกันกลิ่นโคลน
                                                                 ่
                    ปลาที่เลี้ยงในบ่อดินมักจะประสบปัญหาตัวปลามีกลิ่นโคลน แตถาเลยงใน
                                                                   ้
                                                                      ี้
                                                                    ้
                                                                         ิ่
            กระชังจะไม่มีปัญหาดังกล่าว เนื่องจากน้้าจะถ่ายเทตลอดเวลา ส้าหรับการแกไขกลน
                                                       ุ
                                                     ุ
            เหม็นโคลนในเนื้อปลา โดยการเปลี่ยนน้้าพร้อมทั้งควบคมคณภาพน้้าและอาหารท ี่
                                                                    ่
                                                                        ี่
            เลี้ยงปลาในช่วงก่อนจับประมาณ 3 วัน หรือการจับปลามาขังในอ่างน้้าใสกอนทจะ
            ขายสู่ตลาดหรือน้ามาบริโภคประมาณ 1 วัน กลิ่นโคลนดังกล่าวจะลดลงเป็นอย่างมาก
            ซึ่งโดยปกติกลิ่นโคลนจะติดอยู่กับไขมันในตัวปลา

            การดูแลน้้าในบ่อเลี้ยงปลา
                    บ่อที่เลี้ยงปลาที่กินอาหารไม่เลือก กินพืชและกินแพลงก์ตอน ควรเติมน้้าให ้
            ได้ระดับ 1-1.50 เมตรอยู่เสมอ หรือหากมีน้้าไหลผ่านได้เป็นการดีที่สุด เพราะน้้าส่วน
            ใหญ่ไม่ต้องจ่ายค่าน้้าส้าหรับพื้นที่สูง หากไม่สามารถให้น้้าไหลผ่านได้ ก็ควรเปลี่ยนน้้า
            หรือเติมน้้าอย่างน้อยเดือนละ 1-2 ครั้ง อาจสามารถสังเกตได้จากสของน้้าและการ
                                                             ี
            ลอยหัวของปลา
                                                                         ี
                    การระบายน้้าของบ่อควรระบายส่วนล่างของก้นบ่อซึ่งจะเป็นส่วนที่เน่าเสย
                                                            ้
            มากกว่าบนผิวน้้า ในกรณีที่บ่อปลาไม่สามารถระบายน้้าได้เลยจะตองระมัดระวงใน
                                                                       ั
            การให้อาหารในปริมาณที่พอเหมาะ น้้าจะได้ไม่เน่าเสียเร็ว บางครั้งเราอาจสามารถใส ่
                                                                        ่
            เกลือแกงซึ่งเป็นสารเคมีที่ถูกและคุ้มค่ามากที่สุด ที่ละลายน้้าก่อนสาดลงไปเพอชวย
                                                                     ื่
            ปรับสภาพของน้้า และเสริมสร้างกระบวนการปรับสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย ท้าให้ปลา
            แข็งแรงอยู่เสมอ ในอัตราส่วนประมาณ 3 กิโลกรม/พนท 3 x 5 เมตร ดวยการ
                                                 ั
                                                                     ้
                                                        ี่
                                                     ื้
            ละลายเกลือในน้้าก่อนแล้วสาดลงไปในบ่อ ใช้ป้องกันการเกิดโรคได้ดีมากเนื่องจากเมื่อ
            ปลาแข็งแรงก็จะมีโรคเข้ามาน้อย

            การแก้ไขน้้าขุ่น
                    บ่อปลาที่ขุดใหม่มักจะประสบปัญหาน้้าขุ่นเนื่องจากตะกอนดนทถกพดพา
                                                                      ั
                                                                    ู
                                                                   ี่
                                                                ิ
            มาหรือภายในบ่อปลาเอง ความขุ่นนี้อาจท้าให้ปลาเจริญเติบโตช้า ตะกอนดนอาจไป
                                                                   ิ
            อุดตันเหงือก การแก้ไขปัญหาน้้าขุ่นอาจท้าได้โดย

                                      53                        การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62