Page 120 - Research Design
P. 120
100 ก 4.3
ารออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
ตัวอย่างงานวิจัยเชิงทดลอง 1: ผลการฟื้นฟูออกแบบสนามโรงเรียนใหม่
ชื่อเรื่อง ผลกํารฟื้นฟูออกแบบสนํามโรงเรียนใหม่ (The Restorative Effects of Redesigning the Schoolyard: A Multi-Methodological, Quasi- Experimental Study in Rural Austrian Middle Schools)
ผู้วิจัย Christina Kelz, Gary William Evans, and Kathrin Röderer
การเผยแพร่ Environment and Behavior. 2015, Vol. 47(2): 119-139.
ประเด็นการวิจัย
ความสา คญั /ปญั หา/เปา้ หมาย กํารไดส้ มั ผสั กบั ธรรมชําตมิ ผี ลเชงิ บวกอยํา่ งมํากตอ่ เดก็
โรงเรียนเป็นสถํานที่ที่เด็กใช้เวลํามําก ดังนั้นสิ่งที่ควรพิจํารณําคือสภําพแวดล้อมทํางกํายภําพ ของโรงเรียนซึ่งมีแนวโน้มอย่ํางมํากที่จะมีอิทธิพลกับเด็ก กํารวิจัยนี้จึงทํากํารศึกษําถึงอิทธิพล ของกํารปรับปรุงองค์ประกอบกํายภําพของโรงเรียนที่ส่งผลต่อเด็กนักเรียนว่ําเป็นอย่ํางไรบ้ําง
คาถามการวิจัย กํารปรับปรุงกํารออกแบบสนํามของโรงเรียนโดยกํารเพิ่มควํามเขียว ของธรรมชําติมีอิทธิพลต่อ ควํามเครียดทํางกําย (physiology stress) ควํามสุขทํางจิตใจ (psychological well-being) และควํามสํามํารถของสมองด้ํานกํารคิด (executive functioning) ของเด็กนักเรียนหรือไม่ อย่ํางไร
สมมติฐาน
(1) ควํามเครียดทํางกําย (physiology stress) ได้แก่ ควํามดันโลหิตและอัตรํากํารเต้น หวั ใจ จะลดลงในกลมุ่ นกั เรยี นทมี่ กี ํารเพมิ่ ควํามเขยี วของสนํามมํากขนึ้ (greener schoolyard) (2) ภําวะควํามสํามํารถของสมองด้ํานกํารคิด (executive functioning) จะเพิ่มขึ้นที่
ในกลุ่มนักเรียนที่มีกํารเพิ่มควํามเขียวของสนํามมํากขึ้น (greener schoolyard)
(3) ควํามสุขทํางจิตใจ (psychological well-being) จะเพิ่มขึ้นที่ในกลุ่มนักเรียนที่มี
กํารเพิ่มควํามเขียวของสนํามมํากขึ้น (greener schoolyard)