Page 121 - Research Design
P. 121

                 การวิจัยเชิงทดลอง 101
 วิธีการวิจัย
กํารวจิ ยั เชงิ ทดลองในบรบิ ทจรงิ แบบ pre-test/post-test quasi–experimental field
design
รูปแบบการทดลอง
โรงเรียนทดลอง (1 โรงเรียน, 72 คน) O X O โรงเรียนควบคุม (2 โรงเรียน, 61 และ 27 คน) O - O
(O) คือ กํารวัดตัวแปรตําม ได้แก่ ควํามเครียดทํางกําย (physiology stress), ควํามสุขทํางจิตใจ (psychological well-being) และควํามสํามํารถของ สมองด้ํานกํารคิด (executive functioning)
(X) คือ กํารจัดกระทํา มีกํารปรับปรุงออกแบบสนํามโรงเรียน
(-) ไม่มีกํารจัดกระทํา ไม่มีกํารปรับปรุงออกแบบสนํามโรงเรียน
ผู้ร่วมทดลอง 133 คน อํายุเฉลี่ย 14.4 ปี จํากโรงเรียน 3 แห่งในพื้นที่ชนบทของ ออสเตรีย
โรงเรยี นทเี่ ขํา้ รว่ มในงํานวจิ ยั 3 แหง่ มลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกนั ทงั้ ในเชงิ กํายภําพและลกั ษณะ ของนักเรียน ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน โดยแบ่งโรงเรียนเป็น
(1) โรงเรียนทดลอง จํานวน 1 แห่งที่ได้รับกํารปรับปรุงสนําม (นักเรียนกลุ่มตัวอย่ําง 72 คน)
(2) โรงเรียนควบคุม 2 แห่งที่ใช้สนํามเดิมไม่มีกํารปรับปรุง (นักเรียนกลุ่มตัวอย่ําง 61 และ 27 คน)
เก็บข้อมูล (pre-test) ทั้ง 3 ตัวแปรหลักกับนักเรียนทั้งโรงเรียนทดลองและโรงเรียน ควบคุมก่อนดําเนินกํารปรับปรุง (มีนําคม 2009)
ดําเนินกํารปรับปรุงออกแบบสนํามของโรงเรียนทดลองโดยให้ควํามสําคัญกับกํารเพิ่ม ควํามเขียวของธรรมชําติมํากขึ้น (greener schoolyard) (ภําพประกอบ 4.1)
หลงั จํากปรบั ปรงุ แลว้ เสรจ็ ดํา เนนิ กํารเกบ็ ขอ้ มลู ตวั แปรหลกั กบั นกั เรยี นกลมุ่ เดมิ อกี ครงั้ หลังจํากนักเรียนใช้สนํามไปประมําณ 6-7 สัปดําห์ (เดือนมิถุนํายน 2009)
กํารวิเครําะห์ข้อมูล กํารเปรียบเทียบตัวแปรตําม ได้แก่ (1) ควํามเครียดทํางกําย (physiology stress) (2) ระดับควํามสุขทํางจิตใจ (psychological well-being) และ (3) ระดับควํามสํามํารถของสมองด้ํานกํารคิด (executive functioning) ก่อนและหลังกําร เปลี่ยนแปลงของโรงเรียนที่ได้กํารปรับปรุง (ภําพประกอบ 4.2)


















































































   119   120   121   122   123