Page 156 - Research Design
P. 156

                 6.2
การวิจัยเชิงประเมินในสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 ในบริบทของสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้ําง กําร ประเมนิ มคี วํามเกย่ี วขอ้ งกบั พน้ื ที่ ผลติ ภณั ฑ์ โปรแกรม นโยบําย ระบบ บริกํารต่ํางๆ โดยกระบวนกํารประเมิน นจี้ ะเปน็ ตวั บอกวํา่ อะไรทจี่ ํา เปน็ ตอ้ งมกี ํารเปลยี่ นแปลง ปรบั ปรงุ มอี ะไรทบี่ ง่ ชวี้ ํา่ กํารเปลยี่ นแปลงไดเ้ กดิ ขนึ้ แลว้ ทํางเลือกใดที่เหมําะสมที่สุด ซึ่งส่วนมํากจะเป็น ประโยชน์ในเชิงปฏิบัติ กํารประเมินท่ีใช้กันอย่ําง แพร่หลํายคือ การประเมินหลังเข้าใช้งาน (Post- Occupancy Evaluation หรือ POE) และต่อมําถูก กํารพฒั นําเปน็ กํารประเมนิ สมรรถภําพอําคําร(Building Performance Evaluation หรือ BPE)
6.2.1 การประเมินหลังเข้าใช้งาน (POE) และการประเมินสมรรถภาพอาคาร (BPE)
กํารประเมินหลังเข้ําใช้งํานอําคํารอย่ํางเป็น ระบบและมีกํารวัดสมรรถภําพอย่ํางเป็นรูปธรรม (objective measures of performance) เร่ิมต้น ครั้งแรกๆ ในช่วงปี 1960s โดยวูล์ฟกัง ไพรเซอร์ (Wolfgang Preiser) เปน็ อําคํารหอพกั นกั ศกึ ษํา ซงึ่ เปน็ กํารวเิ ครําะหว์ ํา่ มกี ํารใชง้ ํานอําคํารอยํา่ งไร สมรรถภําพ สภําพแวดล้อมที่เป็นกํารรับรู้ (subjective) กับ สมรรถภําพทเี่ ปน็ รปู ธรรม (objective) มคี วํามสมั พนั ธ์ กันอย่ํางไร (Preiser, 1994) กํารใช้งํานอําคํารเป็นไป ตํามทก่ี ํารออกแบบตงั้ ใจไวแ้ คไ่ หน ตอ่ มําวธิ กี ํารนถี้ กู ใช้ เป็นเคร่ืองมือในกํารประเมินควํามสําเร็จและล้มเหลว ของโครงกําร และเป็นส่วนหน่ึงของกํารออกแบบใน ลักษณะที่อยู่บนฐํานของข้อมูลหลักฐําน (evidence- based design)
Preiser (1995, 2002) ให้ควํามหมํายกําร ประเมนิ หลงั เขํา้ ใชง้ ําน (POE) วํา่ เปน็ กํารวดั สมรรถภําพ ของอําคํารและช้ีให้เห็นถึงปัญหําที่สําคัญผ่ํานมุมมอง และควํามต้องกํารของผู้ใช้อําคําร (to measure the building performance and identifies significant problems through focusing in the building occupants’ perspective and requirements) ต่อมํา ในช่วงกลํางทศวรรษที่ 90 ไพรเซอร์ได้ร่วมงําน กับ ดร.อูลริช ชครํามม์ (Dr.Ulrich Schramm) ผู้เช่ียวชําญด้ํานกํารประเมิน POE ข้ํามวัฒนธรรม (cross-cultural POE) จํากเยอรมนี เป็นผลใหม้ ติ กิ ําร ประเมินอําคํารมีควํามกว้ํางขวํางขึ้น พัฒนําเป็นกําร ประเมนิ สมรรถภําพของอําคําร(BuildingPerformance Evaluation หรือ BPE) (Preiser and Nasar, 2008) กล่ําวคือ เป็นกํารประเมินครอบคลุมวงจรชีวิตอําคําร (the life cycle of a building) ที่ประกอบด้วยมิติ กํารประเมินที่หลํากหลําย ทําให้ POE กลํายเป็นเพียง หนงึ่ ในหกมติ ขิ องกํารประเมนิ สมรรถภําพอําคําร (BPE) ภําพประกอบ 6.1
การนา การประเมนิ หลงั เขา้ ใชง้ าน (POE) ไปใช้
- นําไปใช้ในกํารปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง อําคํารในปัจจุบัน เช่น กํารปรับใช้งํานพ้ืนที่ตํามวิธีกําร ทํางํานของคนในปัจจุบันที่เปลี่ยนไป
- ใช้เป็นข้อมูลและแนวทํางสําหรับกํารพัฒนํา โครงกํารในอนําคต กลํา่ วคอื สํามํารถทํา เปน็ ฐํานขอ้ มลู ท่ีจะเป็นฐํานควํามรู้ (knowledge-based) ในกําร ปฏิบัติวิชําชีพกํารออกแบบ
 

























































































   154   155   156   157   158