Page 217 - Research Design
P. 217

                 การเปลี่ยนประเด็นสนใจเป็นโจทย์วิจัย 197
  - ออฟฟิศขนาดใหญ่แบบเปิด (Large open plan >24 persons/room)
- ออฟฟิศแบบยืดหยุ่น ไม่มีที่นั่งแบบประจา (Flex office No individual workstation) - ออฟฟิศแบบผสม (Combi office)
ตัวแปรตาม ในงานวิจัยนี้มี 3 ตัวแปร คือ
(1) สภาวะสุขภาพ (Health) ผู้วิจัยวัดตัวแปรนี้จาก
(a) จานวนเวลาการลาป่วย (sick leave)
(b) การรายงานสภาวะสุขภาพโดยรวม (general health)
(c) การรายงานปัญหาสุขภาพและโรคประจาตัว (physical problems)
(2) สุขภาวะที่ดี (Well-Being) ผู้วิจัยวัดตัวแปรนี้จากแบบทดสอบสภาวะสุขภาพจิต
ประกอบด้วย
(a) ความมีประสิทธิภาพ (efficiency)
(b) ความแม่นยา (accuracy)
(c) ความสุขุมและความสมดุล (calm and harmony) (d) ความกระตือรือร้น (energy)
(e) ภาวะเสียใจและซึมเศร้า (sadness and depression) (f) คุณภาพการนอนหลับ (quality of sleep)
(3) ความพึงพอใจในงาน (Job Satisfaction) ผู้วิจัยวัดตัวแปรจากแบบสอบถามใน 2 มิติ ได้แก่
(a) สภาพแวดล้อมการทางาน (work environment)
(b) ทัศนคติต่องาน (attitude toward work)
ตัวแปรแทรกซ้อน ในงานวิจัยนี้มีการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนที่สาคัญ คือ
- ขนาดออฟฟิศที่เท่าๆ กันทุกออฟฟิศ (number of employees in the offices) - ประเภทงานที่สายธุรกิจไม่แตกต่างกันมาก (lines of business)
















































































   215   216   217   218   219