Page 218 - Research Design
P. 218

                 198 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 (2) การวัดตัวแปรในงานวิจัย
ตัวแปรในงํานวิจัยทุกตัวต้องถูกอธิบํายด้วย ข้อมูลชุดใดชุดหน่ึง วิธีกํารทํางวิทยําศําสตร์ยอมรับ ข้อมูลท่ีรับรู้ได้ด้วยประสําทสัมผัสเป็นหลัก แต่บําง ตัวแปรที่ไม่สํามํารถรับรู้ได้โดยตรง ผู้วิจัยจําเป็นต้องใช้ “เครื่องมือ” (instrument) ในกํารเก็บรวบรวมข้อมูล ของตัวแปรนั้นๆ เรียกว่ํา “กํารวัดตัวแปร”
วิธีการวัดตัวแปรในงานวิจัย มีข้ันตอนดังน้ี กํารนิยํามตัวแปร กํารสร้ํางเคร่ืองมือวัดตัวแปร และ คุณภําพของเครื่องมือวัด
1. การนิยามตัวแปร เป็นกํารให้ควํามหมําย คําอธิบําย หรือกําหนดขอบข่ํายของตัวแปรในงํานวิจัย ของเรํา ซ่ึงจะมีลักษณะท่ีเฉพําะของงํานแต่ละงําน ตัวแปรเดียวกันที่อยู่ในงํานวิจัยผู้อ่ืนอําจมีนิยํามที่ แตกต่ํางกันได้ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับฐํานแนวคิดทฤษฎีที่ผู้วิจัย นํามําใช้ ทุกตัวแปรสําคัญจําเป็นต้องมีกํารให้นิยํามจน สํามํารถเป็นตัวแปรที่วัดประเมินได้ นิยํามตัวแปรมี 2 ลักษณะ คือ
(1) นิยํามเชิงทฤษฎี (theoretical or conceptual definition) เป็นกํารให้ควํามหมํายตําม หลักกํารและแนวคิดท่ีนํามําประยุกต์ใช้ ซึ่งจะมีควําม เป็นนํามธรรมไม่สํามํารถวัดหรือสังเกตได้โดยตรง
(2) นิยํามเชิงปฏิบัติกําร (operational definition) เปน็ กํารใหค้ วํามหมํายทตี่ อ่ เนอื่ งจํากนยิ ําม เชิงทฤษฎีเพื่อให้ตัวแปรนั้นมีควํามเป็นรูปธรรมจน สํามํารถวัด ประเมิน บอกระดับหรือค่ําได้ จําเป็นต้อง มีควํามเป็นรูปธรรม
ตัวอย่ําง ตัวแปรสภําวะสุขภําพ (Health) หมํายถึง ระดับควํามแข็งแรงด้ํานร่ํางกํายของบุคคล (นิยํามเชิงทฤษฎี) วัดตัวแปรนี้ได้จําก 3 องค์ประกอบ คือ (1) จํานวนเวลํากํารลําป่วย (2) กํารรํายงํานสภําวะ สุขภําพโดยรวม และ (3) จํานวนปัญหําสุขภําพและ โรคประจําตัวท่ีมี (นิยํามเชิงปฏิบัติกําร)
2. การสร้างเคร่ืองมือวัดตัวแปร
- กรณเี ปน็ เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณก์ ํารวดั ตวั แปร ทํางกํายภําพ เช่น เทอร์โมมิเตอร์ เครื่องวัดควํามเร็ว ลม อุปกรณ์วัดระดับเสียง เคร่ืองมือวัดแสง อุปกรณ์วัด ควํามชื้น แบบสํารวจมําตรฐํานกํารหนีไฟ ฯลฯ ผู้วิจัย ต้องให้ควํามสําคัญกับกํารตรวจสอบกํารทํางําน กําร บํารุงรักษํา กํารตรวจสอบควํามน่ําเชื่อถือของแหล่ง ผลิตเครื่องมือ และควํามคงที่ในกํารให้ข้อมูลของ เคร่ืองมือนั้นๆ
- กรณีมีผู้สร้ํางเครื่องมือวัดตัวแปรน้ันไว้แล้ว และมีกํารกําหนดขอบเขตนิยํามตัวแปรหรือใช้ฐําน แนวคิดเชิงทฤษฎีเหมือนกับตัวแปรในงํานวิจัยของเรํา ผู้วิจัยสํามํารถนําเครื่องมือวิจัยดังกล่ําวมําใช้หรือมํา ประยุกต์ใช้ในงํานวิจัยเรําได้ แต่ต้องมีกํารอ้ํางอิงที่มํา และลักษณะกํารนํามําใช้ว่ําเป็นกํารนํามําใช้เลยหรือ เป็นกํารปรับปรุงดัดแปลงมําทุกคร้ัง ไม่ว่ําจะเป็นแบบ สังเกต แบบสํารวจ แบบสัมภําษณ์ แบบสอบถําม แบบ ทดสอบ
- กรณีที่ผู้วิจัยต้องสร้ํางเครื่องมือวัดตัวแปร ในงํานวิจัยเอง เช่น แบบสังเกต แบบสัมภําษณ์ แบบสอบถําม แบบสํารวจ แบบทดสอบ กํารสร้ําง เครื่องมือวัดสํามํารถทําได้หลังจํากกําหนดนิยํามเชิง ปฏิบัติกํารให้ตัวแปรเรียบร้อยแล้ว ดังน้ี























































































   216   217   218   219   220