Page 220 - Research Design
P. 220
200 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
เงอื่ นไขที่ 2 ควํามเปน็ ตวั แทน (representative)
คุณสมบัติหรือโปรไฟล์ (profile) ของหน่วย ตวั อยํา่ งหรอื กลมุ่ ตวั อยํา่ งตอ้ งมลี กั ษณะทเ่ี หมอื นหรอื มี ควํามใกล้เคียงกับหน่วยประชํากรหรือกลุ่มประชํากร เป้ําหมําย
เงอื่ นไขที่ 3 กํารกํา หนดขนําดตวั อยํา่ ง (sample size)
กํารกํา หนดขนําดตวั อยํา่ งทเ่ี หมําะสมทํา ไดโ้ ดย
(1) วิธีกํารคํานวณหรือตํารํางสําเร็จรูปท่ี คํานวณขนําดตัวอย่ํางไว้ให้ ซึ่งพบได้ในตํารําสถิติเพื่อ กํารวิจัยท่ัวไป
(2) กํารอ้ํางอิงกํารกําหนดแหล่งประชํากร เป้ําหมํายที่ใกล้เคียงกันจํากงํานวิจัย (ที่ได้มําตรฐําน) หรือกํารศึกษําในอดีตท่ีผ่ํานมํา
8.3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
กํารเลือกวิธีกํารวิเครําะห์ข้อมูลขึ้นอยู่กับ วตั ถปุ ระสงคก์ ํารวจิ ยั และลกั ษณะขอ้ มลู วํา่ เปน็ ขอ้ มลู ที่ มีคุณสมบัติเชิงปริมําณหรือเชิงคุณภําพ ดังนี้
กรณีท่ีเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative data) ขอ้ มลู ทมี่ ลี กั ษณะเปน็ ถอ้ ยคํา กํารเขยี น รปู ภําพ โดยท่ัวไปใช้กํารวิเครําะห์เนื้อหํา (content analysis) ได้แก่
- conceptual analysis เป็นกํารวิเครําะห์ เนื้อหําโดยจับใจควําม สรุปประเด็น และนับจํานวน ควํามถ่ีของข้อควํามหรือข้อมูลที่เกิดข้ึนในแต่ละ ประเด็น
- relational analysis เป็นกํารวิเครําะห์ เน้ือหําโดยสร้ํางควํามสัมพันธ์ระหว่ํางประเด็น
กรณีที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) ข้อมูลที่มีลักษณะเชิงปริมําณอําจใช้วิธีกําร วิเครําะห์ที่เป็นกํารคํานวณหรือวิธีกํารทํางสถิติ
- สถิติเชิงบรรยําย (descriptive statistics) ใชใ้ นกํารบรรยํายลกั ษณะตํา่ งๆ ของขอ้ มลู เชน่ คํา่ เฉลยี่ ส่วนเบ่ียงมําตรฐําน ควํามถี่ ร้อยละ
- สถิติอ้ํางอิง (inferential statistics) ใช้ใน กรณตี อ้ งกํารใหผ้ ลกํารวเิ ครําะหส์ ํามํารถสรปุ อํา้ งองิ จําก กลุ่มตัวอย่ํางไปยังประชํากรได้อย่ํางมีประสิทธิภําพ เช่น t-test, ANOVA, REGRESSION, CORRELATION เป็นต้น