Page 251 - Research Design
P. 251

                 10.1
หลักการวิเคราะห์ข้อมูล
 กํารวเิ ครําะหข์ อ้ มลู เปน็ กระบวนกํารนํา ขอ้ มลู ที่ รวบรวมได้จํากแหล่งต่ํางๆ มําทําควํามเข้ําใจ จําแนก แยกแยะจัดระเบียบเพ่ือเป็นหลักฐํานสําหรับใช้ในกําร สรปุ ผลวจิ ยั ในกํารวเิ ครําะหข์ อ้ มลู ผวู้ จิ ยั ควรทบทวนสงิ่ สําคัญสํามประกําร ได้แก่ กลยุทธ์ในกํารวิเครําะห์ คุณสมบัติของข้อมูล และคําถํามหรือวัตถุประสงค์วิจัย
10.1.1 กลยุทธ์การวิเคราะห์ข้อมูล
กลยุทธ์ในกํารวิเครําะห์ข้อมูลในที่นี้ หมํายถึง แนวควํามคิดเบ้ืองหลังของผู้วิจัยที่จะใช้ในกํารสร้ําง ขอ้ สรปุ จํากขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่ โดยทวั่ ไปกํารสรํา้ งขอ้ สรปุ มี 2 ลักษณะได้แก่
(1) กํารวิเครําะห์จํากสมมติฐํานหรือแนวคิดที่ มีอยู่ (theoretical propositions) เป็นแนวทํางที่ใช้ ในกํารวเิ ครําะหข์ อ้ มลู เพอื่ สรํา้ งขอ้ สรปุ ทอี่ ยบู่ นพน้ื ฐําน ของกํารมแี นวคดิ ทฤษฎบี ํางประกํารเปน็ ตวั นํา และเปน็ ตัวช่วยกําหนดทิศทํางในกํารวิเครําะห์ข้อมูล วิธีน้ีมัก ถกู ใชใ้ นกํารวจิ ยั กลมุ่ ประจกั ษนยิ ม (Positivism) ทเี่ ปน็ งํานวิจัยเชิงปริมําณ หรืองํานวิจัยที่มีควํามคิดและ หลกั กํารเชงิ ทฤษฎบี ํางประกํารเปน็ แนวทํางในกํารสรํา้ ง ข้อสรุปจํากข้อมูลที่มีอยู่
(2) กํารวิเครําะห์จํากสิ่งที่พบในข้อมูลโดย ไม่มีแนวคิดหรือสมมติฐํานท่ีกําหนดไว้ก่อนเลย (descriptive framework) แนวทํางท่ีผู้วิจัยใช้ในกําร วิเครําะห์จะไม่มีกํารกํากับหรือไม่มีแนวคิดเชิงทฤษฎี เป็นกรอบในกํารวิเครําะห์ข้อมูล กํารสร้ํางข้อสรุปจะ
เป็นลักษณะกํารสร้ํางกรอบแนวคิดหรือกรอบกําร อธบิ ํายจํากตวั ขอ้ มลู ทพ่ี บ กลยทุ ธล์ กั ษณะนม้ี กั ถกู ใชใ้ น กํารวจิ ยั ในกลมุ่ ควํามเชอ่ื แบบตคี วําม (Interpretivism) ที่เป็นงํานวิจัยในกลุ่มเชิงคุณภําพ
10.1.2 คุณสมบัติของข้อมูล
ก่อนกํารวิเครําะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจําเป็นต้องจัด ระเบยี บใหก้ บั ขอ้ มลู กอ่ น กลํา่ วคอื กํารตรวจสอบควําม ครบถว้ น สมบรู ณข์ องขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่ ในงํานวจิ ยั มปี ระเดน็ หรอื ตวั แปรอะไรบํา้ ง ตวั แปรแตล่ ะตวั แปรประกอบดว้ ย ขอ้ มลู จํากแหลง่ ใดบํา้ ง คณุ สมบตั ขิ องขอ้ มลู เปน็ อยํา่ งไร เช่น
- ขอ้ มลู ทมี่ เี ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ (fact) ควํามคดิ เหน็ (opinion) หรือเป็นกํารสรุปควําม (summarize) มํา อีกทีหนึ่ง
- ระดบั ขอ้ มลู เปน็ อยํา่ งไร ตวั แปรแตล่ ะตวั แปร ประกอบด้วยข้อมูลในระดับใดบ้ําง เป็นข้อมูลในระดับ ใหญ่ (macro data) เช่น นโยบํายองค์กร รํายได้ของ ประเทศ หรือเป็นข้อมูลระดับเล็ก (micro data) เช่น ข้อมูลระดับบุคคล ประสิทธิภําพ
- ข้อมูลมีสภําพนิ่ง (static data) หรือเป็น ข้อมูลเคล่ือนไหว (dynamic data) ท่ีต้องอ้ํางอิงกับ เวลํา ตําแหน่ง ระดับ หรือบริบท ซ่ึงมีกํารเปลี่ยนแปลง และไม่แน่นอน จําเป็นต้องมีกํารอ้ํางอิงเสมอเมื่อนํา ข้อมูลแบบเคลื่อนไหวมําใช้
 





















































































   249   250   251   252   253