Page 252 - Research Design
P. 252
232 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
- ข้อมูลที่รวบรวมเองหรือข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) หรือเป็นข้อมูลที่มําจํากแหล่งทุติยภูมิ (secondary data) ซึ่งมีผลต่อควํามน่ําเช่ือถือของกําร สร้ํางข้อสรุป โดยเฉพําะข้อมูลประเภททุติยภูมิจําเป็น ต้องมีกํารอ้ํางอิงและอําจต้องใช้ข้อมูลจํากหลํายแหล่ง ในกํารสร้ํางข้อสรุป
- ควํามสํามํารถเชงิ ตวั เลขของขอ้ มลู ขอ้ มลู เชงิ ปริมําณ (quantitative data) หรือข้อมูลเชิงคุณภําพ (qualitative data) จะมีผลต่อกํารเลือกวิธีกําร วิเครําะห์ข้อมูล กล่ําวคือข้อมูลเชิงปริมําณจะสํามํารถ ถูกคํานวณและนําเสนอในเชิงปริมําณ เช่น ค่ําเฉลี่ย ขนําดควํามสัมพันธ์ ขนําดอิทธิพล เป็นต้น ส่วนข้อมูล เชิงคุณภําพจะเป็นข้อมูลที่ไม่มีควํามสํามํารถในเชิง ตัวเลขเป็นข้อควําม คําพูด ภําพ กํารประมวลผลและ กํารนําเสนอมักเป็นกํารสรุปใจควําม จับประเด็น และ กํารนับจํานวน (counting) ประเด็น ใจควําม เป็นต้น
ข้อสังเกต ความแตกต่างระหว่าง “ตัวแปร” และ “ข้อมูล”
ตวั แปรหนงึ่ ตวั แปรสามารถเกดิ จากการประกอบกนั ของขอ้ มลู หลายแหลง่ (aggregated
data) ซึ่งแต่ละแหล่งอาจมีคุณสมบัติของข้อมูลที่แตกต่างกัน ผู้วิจัยต้องวางแผนการรวมข้อมูล ที่หลากหลายเพื่ออธิบายตัวแปรนั้นๆ
เชน่ ตวั แปร “ประสทิ ธภิ าพการทา งานของระบบ” ขอ้ มลู ที่ใชใ้ นการอธบิ ายประกอบดว้ ย (1) ความรวดเร็ว ระยะเวลาที่ทาให้งานของผู้ใช้สาเร็จ (2) ความถูกต้องในการทางาน จานวน ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการทางานของระบบแต่ละครั้ง และ (3) ระดับความพึงพอใจของ ผู้ใช้งาน คะแนนความพึงพอใจจากน้อยไปมาก
ตัวแปรและข้อมูลมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ตัวแปร คือ สิ่งที่สนใจศึกษาซึ่งสามารถ เปลี่ยนแปลงค่าได้ ส่วนข้อมูล คือ หลักฐานที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปร
ตัวแปร เพศ (เป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ) ข้อมูลคือ (1) ชาย (2) หญิง (3) ทางเลือก ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพที่สามารถนับจานวนได้
ตัวแปร ความสูงอาคาร (เป็นตัวแปรเชิงปริมาณ) ข้อมูล ระดับความสูงเป็นเมตร (เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ)