Page 264 - Research Design
P. 264

                 244 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 10.4.3 การเปรียบเทียบเพื่อค้นหาความเหมือน และความแตกต่าง
เป็นกํารวิเครําะห์เปรียบเทียบเพ่ือค้นหําควําม เหมือนหรือควํามแตกต่ํางระหว่ํางกลุ่มข้อมูล หรือ ระหวํา่ งกลมุ่ ตวั แปรยอ่ ย เชน่ เปรยี บเทยี บระหวํา่ งพนื้ ท่ี ระหว่ํางกลุ่มคน เป็นต้น
(1) กรณีข้อมูลเชิงคุณภาพ สํามํารถใช้กํารวิเครําะห์ เน้ือหําท้ังกํารจับใจควํามและกํารค้นหําควํามสัมพันธ์ เพอ่ื คน้ หําควํามแตกตํา่ งระหวํา่ งกลมุ่ ขอ้ มลู ได้ นอกจํากน้ี ยังสํามํารถใช้วิเครําะห์ต่อเน่ืองจํากกํารนิยํามกลุ่ม ผู้ใช้งําน (groups definition) และกํารอธิบํายบุคลิก ของกลุ่ม (persona definition) โดยพิจํารณําถึง คณุ ลกั ษณะของสมําชกิ ในแตล่ ะกลมุ่ สํามํารถเปน็ ขอ้ มลู สนับสนุนกํารเปรียบเทียบระหว่ํางกลุ่มได้
 ตัวอย่างการเปรียบเทียบเพื่อค้นหาความเหมือนและความแตกต่าง: กรณีข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างกรณีตัวอย่างในการวิจัยเร่ืองสภาพแวดล้อมเพื่อการ เรียนรู้สาธารณะรูปแบบใหม่: การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการเรียนรู้และผลกระทบที่มีต่อ รายละเอียดโครงการ ที่ว่าง และสถาปัตยกรรมศูนย์ความรู้ร่วมสมัย ของ พีรดร แก้วลาย และ ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า (2561) ผู้วิจัยค้นหารูปแบบการเรียนรู้ของคนเปลี่ยนแปลงไป ทั้งการ เข้าถึง การแลกเปลี่ยนและการเผยแพร่ความรู้ บทบาทของพื้นที่เรียนรู้และห้องสมุดแบบเดิม ต้องปรับตัว เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบพื้นที่การเรียนรู้ในศตวรรษหน้า ในการวิจัยมีการ วิเคราะห์พหุกรณีศึกษา เพื่ออธิบายลักษณะทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบใหม่ผ่าน ศูนย์ความรู้ที่ประสบความสาเร็จและเป็นผู้นาในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกจานวน 8 แห่งจาก 8 ประเทศ ดังนี้





























































































   262   263   264   265   266