Page 262 - Research Design
P. 262

                 242 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 (2) กรณีข้อมูลเชิงปริมาณ กํารจัดกลุ่ม (grouping) ตัวแปรหรือกลุ่มของหน่วยกํารวิเครําะห์ (คน ส่ิงของ อําคําร พื้นที่ เป็นต้น) ที่มีข้อมูลเป็นเชิงปริมําณ โดย กํารจัดกลุ่มตัวแปรเรียกว่ํา กํารวิเครําะห์องค์ประกอบ
(Factor analysis) และกํารจดั กลมุ่ หนว่ ยกํารวเิ ครําะห์ เชน่ กลมุ่ คน พนื้ ที่ อําคําร เรยี กวํา่ กํารวเิ ครําะหจ์ ํา แนก กลุ่ม (Cluster analysis)
 ตัวอย่างการจัดกลุ่ม: กรณีข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์เพื่อจับกลุ่มตัวแปรด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) การ ค้นหาตัวบ่งชี้ที่ใช้อธิบาย citizen satisfaction ต่อเมืองที่เลือกอาศัยอยู่ (Citizen Satisfaction Index, CSI). ในงานวิจัย The Citizen Satisfaction Index (CSI): Evidence for a four basic factor model in a German sample ของ Sebastian Zenker, Sibylle Petersen, และ Andreas Aholt (2013: 156-164) ผู้วิจัยดาเนินการสัมภาษณ์ผู้คนเกี่ยวกับการเลือกเมือง ทอี่ าศยั อยรู่ ว่ มกบั การทบทวนเอกสารงานวจิ ยั เกยี่ วกบั แนวคดิ การเลอื กทอี่ ยอู่ าศยั นา มาสรา้ งเปน็ ข้อคาถามจานวน 21 รายการ แล้วเก็บข้อมูลแบบสารวจแบบออนไลน์กับผู้คนจานวน 611 คน หลังจากนั้นนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาสร้างเป็น Citizen Satisfaction Index (CSI) ด้วยการ วิเคราะห์การจับกลุ่มกันของข้อคาถาม 21 รายการด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) (ภาพประกอบ 10.3)
ผลการวิเคราะห์เพื่อจับกลุ่มรายการข้อคาถามพบว่า รายการข้อคาถาม 21 รายการ จับกลุ่มได้เป็น 4 กลุ่ม
กลุ่มแรก เป็นการรวมกันของรายการคาถามจานวน 7 ข้อที่มีประเด็นเกี่ยวกับขนาดและ การบริการของเมืองที่ส่งถึงผู้อาศัยโดยตรง เช่น ภาพของเมือง (the urban image of a city) การช็อปปิ้งและกิจกรรมทางวัฒนธรรม และมีประเด็นเกี่ยวกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม บรรยากาศของเมือง และการเปิดรับความแตกต่างหลากหลายผู้วิจัยตั้งชื่อกลุ่มนี้ว่า “urbanity & diversity”




























































































   260   261   262   263   264