Page 44 - Research Design
P. 44

                 24 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 “ควํามรู้” ในบริบทของส่ิงแวดล้อมสรรค์สร้ําง ในที่น้ี จึงแบ่งควํามรู้โดยพิจํารณําในลักษณะควํามรู้ใหม่ เป็น 2 ลักษณะ คือ
(1)ควํามรใู้หมท่เี่กยี่วขอ้งกบัสง่ิแวดลอ้มสรรค์ สรํา้ ง เปน็ ควํามรทู้ นี่ ํา มําใชใ้ นกํารออกแบบสงิ่ แวดลอ้ ม สรรค์สร้ํางมีลักษณะท่ีหลํากหลํายซ่ึงอําจเป็นควํามรู้ ในสําขําอน่ื ๆ แตม่ คี วํามเกยี่ วขอ้ งกบั สงิ่ แวดลอ้ มสรรคส์ รํา้ ง และกํารออกแบบสง่ิ แวดลอ้ มสรรคส์ รํา้ ง เชน่ เทคโนโลยี วัสดุ บริหํารจัดกําร พฤติกรรมมนุษย์ เศรษฐศําสตร์ เป็นต้น
(2) ควํามรู้ใหม่ที่เป็นผลงํานออกแบบ เป็น ควํามรู้ท่ีเกิดจํากกระบวนกํารออกแบบ ผลงําน ออกแบบท่ีเกิดข้ึนถือเป็นควํามรู้ใหม่ หรือกล่ําวได้ วํา่ กํารสรํา้ งควํามรใู้ หมค่ อื กระบวนกํารออกแบบนนั่ เอง
(1) ความรู้ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับส่ิงแวดล้อม สรรค์สร้าง ควํามรู้ในลักษณะน้ีมีควํามหลํากหลํายใน เน้ือหํา ตั้งแต่เร่ืองของมนุษย์ พฤติกรรมสิ่งแวดล้อม ประวตั ศิ ําสตร์ กํารบรหิ ํารจดั กําร ธรุ กจิ และอตุ สําหกรรม กํารออกแบบ เทคโนโลยกี ํารกอ่ สรํา้ งและกํารออกแบบ ระบบระบํายอํากําศเปน็ตน้ผลกํารสรํา้งควํามรแู้บบนี้ เปน็ ทง้ั ควํามรพู้ นื้ ฐํานสํา หรบั นกั ออกแบบ และอําจเปน็ ควํามรทู้ นี่ ํา ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดเ้ ลยทอ่ี ยใู่ นรปู ขอ้ เขยี น ภําพ โครงร่ําง แบบจําลอง
ตัวอย่ํางเช่น กํารสร้ํางทฤษฎีจินตภําพเมือง (The Image of the City) ของเควิน ลินช์ (Kevin Lynch, 1960) กํารใช้พ้ืนที่สําธํารณะ (Life between Building) ของ ญําณ เกห์ล (Jan Gehl) เป็นต้น
 ภาพประกอบ 1.3 (ซ้าย) เควิน ลินช์ และ (ขวา) ญาณ เกห์ล




























































































   42   43   44   45   46