Page 26 - สรุป DSD
P. 26
ฝึกอบรมฝีมือแรงงำน
“
่
เครองมือส าคัญทีกรมพฒนาฝีมือแรงงานใน
ื
ั
่
นิยามหลักสูตรการฝึก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท พฒนาศกยภาพแรงงาน ด้วยการฝึกอบรม
ั
ั
ั
ู
ั
ข้อก าหนดหลักสตรการพฒนาศกยภาพแรงงาน พ.ศ. 2550
ู
เรียกว่า หลักสตรการฝึก
1. หลักสตรกำรฝึกเตรียมเข้ำท ำงำน
ู
(Pre-employment Training) ”
การฝึกอบรมฝีมือแรงงานก่อนเข้าท างาน เพอให้แรงงานมี
ื่
สมรรถนะการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานแต่ละสาขาอาชีพ
ู
2. หลักสตรกำรฝึกยกระดับฝีมือ
(Upgrade Training)
่
ื
้
ิ
ิ
การฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพอเพ่มเตมความรู ความสามารถ
และทักษะในด้านอาชีพให้กับแรงงานได้มีศกยภาพการท างาน
ั
ู
ที่สงขึ้น
3. หลักสตรกำรฝึกอำชีพเสริม
ู
(Re-Training)
ิ
ิ
่
การฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพอเพ่มเตมความรู ้
ื
ความสามารถ ในสาขาอาชีพอื่นที่นอกเหนือจากอาชีพที่ วุฒิบัตรพฒนาฝีมือแรงงาน (วพร.)
ั
ปฏิบัติอยู่ตามปกติ หรือ นอกเหนือจากความรู้เดิม
เตรียมเข้าท างาน ยกระดับ อาชีพเสริม
ู
ู้
้
ู้
ู้
ื้
กลุ่มเป้าหมาย ผที่เตรียมจะเขาสู่การท างาน ผที่มีพนฐานความรู้และ ประชาชนทั่วไป ผถกเลิกจ้าง
ิ
ู้
แ ร ง ง า น ใ ห ม่ ห รื อ เ พ่ ง จ บ ทักษะเดิม หรือ ผที่ท างาน ว่างงาน แรงงานนอกระบบ
้
่
ื
ิ
ึ่
ื้
การศกษา ซงยังไม่มีพนฐาน อยู่แล้ว เพอใหมีรายได้เพ่ม หรือรองรับ
ึ
ื้
อาชพ หรือ มีพนฐานอาชพ การเปลี่ยนอาชีพใหม่
ี
ี
แล้วแต่ยังไม่มีงานท า
ระยะเวลาฝึก 2-12 เดือน 6 - 240 ชั่วโมง 6 - 480 ชั่วโมง
(280 – 1,680 ชั่วโมง)
การฝากฝึก
ในสถานประกอบการ 1 - 4 เดือน ไม่มี ไม่มี
26