Page 16 - คู่มือการปฎิบัติงานปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
P. 16
ประเภทน�้ำมันเชื้อเพลิง ก๊ำซปิโตรเลียม
“NGL” (Natuaral Gasoline) หรือก๊าซโซลีนธรรมชาติ คือก๊าซธรรมชาติเหลว
�
�
้
เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์นามันสาเร็จรูปได้เช่นเดียวกับคอนเดนเสท และยังเป็นตัว
ท�าละลาย ซึ่งน�าไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท
“NGV” (Natuaral Gas for Vehicles) เป็นก๊าซธรรมชาติ ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง
ส�าหรับรถยนต์ มีส่วนประกอบหลัก คือก๊าซมีเทน ซึ่งมีคุณสมบัติเบากว่าอากาศ ส่วนใหญ่
จะใช้งานอยู่ในสภาพเป็นก๊าซที่ถูกอัดจนมีความดัน 3,000 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว บางครั้ง
เรียกก๊าซนี้ว่า CNG ซึ่งย่อมาจาก Compressed Natuaral Gas หรือก๊าซธรรมชาติอัด
“LPG” (Liquefird Petroleum Gas) หรือก๊าซปิโตรเลียมเหลว เป็นก๊าซชื้น
่
ี
ึ
่
ู
ี
ั
ู่
ทมีโพรเพนและบิวเทน ซ่งท่วไปมีปนอยประมาณ 4 - 8 % จะมีสถานะเป็นก๊าซ ทอุณหภม ิ
และความดันบรรยากาศเช่นกัน เราสามารถแยกโพรเพนและบิวเทนออกจากก๊าซธรรมชาต ิ
ได้แล้วบรรจุลงในถังก๊าซ
“E 85” คือนามันเบนซินท่มีส่วนผสมของเบนซิน กับออกเทนบริสุทธ์ 99.5
ี
้
�
ในอัตราส่วน 15:85 พร้อมผสมสารเพิ่มคุณภาพ (additive) ได้ เช่น บางจาก E85 ที่ค่า
ออกเทนสูงกว่า 100 และมีคุณภาพการใช้งานได้ตามมาตรฐานสากล และใช้ได้กับรถท่ออก
ี
มาส�าหรับใช้ E 85
“E 20” คือน�้ามันเบนซินออกเทน 95 ที่มีส่วนผสมระหว่างน�้ามันเบนซิน 80 %
และ เอทานอล ความบริสุทธ์ร้อยละ 99.5 % ท่ 20% โดยรถท่สามารถใช้นามันแก๊ส
ี
�
้
ี
ิ
้
โซฮอล์ E 20 ได้ยังสามารถใช้นามันเบนซินออกเทน 95 และนามันแก๊ซโซฮอล์ 95 ได้อีกด้วย
�
�
้
“ไบโอดีเซล” คือเชื้อเพลิงเหลวที่ผลิตได้จาก น�้ามันพืชและไขมันสัตว์ เช่น ปาล์ม
มะพร้าว ถั่วเหลือง ทานตะวัน เมล็ดเรพ (rape seed) สบู่ด�า หรือน�้ามันพืช น�้ามันสัตว์
ิ
ทผ่านการใช้งานแล้ว นามาทาปฏกรยาทางเคม transesterification ร่วมกบเมทานอล
ี
ิ
ิ
�
�
ั
่
ี
หรือเอทานอลจนเกิดเป็นสารเอสเตอร์ท่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับนามันดีเซล เรียกว่า
้
ี
�
ื
ึ
ไบโอดีเซล (B100) ซ่งเม่อนามาผสมกับนามันดีเซลเกรดท่ใช้กันในปัจจุบันในสัดส่วน
ี
�
้
�
ร้อยละ 5-10 (B5-B10) จะสามารถน�ามาใช้งานในเครื่องยนต์ดีเซลเป็นอย่างดี โดยไม่ต้อง
ดัดแปลงเครื่องยนต์
“B 5” (Biodiesel B5) คือน�้ามันเชื้อเพลิง หรือน�้ามันสัตว์ รวมทั้งน�้ามันใช้แล้ว
จากการปรุงอาหารมาทาปฏิกิริยาทางเคมีกับแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่าสารเอสเตอร์
�
ั
(Methyl Ester) มคณสมบตใกล้เคยงกบนามนดเซลมาก และในกระบวนการยังได้
ั
้
ี
ิ
�
ี
ุ
ี
ั
กลีเซอรอลเป็นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถน�ามาใช้ท�าเครื่องส�าอางได้อีกด้วย
คู่มือการปฏิบัติงานปราบปรามการกระท�าผิดเกี่ยวกับน�้ามันเชื้อเพลิง 13